Page 71 - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒๕๕๒

Basic HTML Version

Intellectual Cultural Heritage
63
ผ้
าทอนาหมื่
นศรี เป็
นผ้
าทอมื
อด้
วยเทคนิ
คการเก็
ตะกอ (การสร้างเส้นยืน) สร้างลวดลายด้วยการทอยกเขา
เพื่
อเสริมเส้นพุ
่งพิเศษ ซึ่
งเป็
นการทอลวดลายแบบเดียวกั
การทอเทคนิค “ขิด” ในภาคอีสาน แต่ในภาคใต้จะเรียกผ้า
ที่
มีการยกตะกอทั
้งหมดในท้องถิ่
นว่า “ผ้ายก” มีแหล่งผลิต
อยู
ที่
หมู
บ้านนาหมื่
นศรี อำเภอนาโยง จั
งหวั
ดตรั
ผ้าทอนาหมื่
นศรีแบบดั
้งเดิม มี
๓ ประเภท คือ
๑) ผ้
าขาวม้
าลายราชวั
ตร นิ
ยมทอยกเป็
นลวดลาย
ราชวั
ตรในส่
วนกลางของผื
นผ้
า มี
ลายริ
วเป็
นชายหั
วท้
าย
๒ ข้าง
๒) ผ ้
าพาดบ่
า มั
กทอยกตลอดทั
งผ ื
นเป็
นลาย
แก้วชิงดวง ลายกลีบบั
ว ลายตาแมว และลายนก
๓) ผ้
าพานช ้
าง เป็
นผ้
าผื
นยาวที่
ผู
ทอเตร ี
ยมไว ้
ใช้
ประกอบในพิ
ธี
ศพของตนเอง โดยนำผื
นผ้
าวางพาดบน
ผ้
าทอนาหมื่
นศรี
โลงศพ โยงลงบน
พานสายส ิ
ญจน์
ลวดลายที่
ทอบน
ผ ื
นผ ้
าส่
วนใหญ่
ทอเป็
นตั
วอั
กษร
ไ ท ย เ ป็
น ช่
ว ง ๆ
บรรยายถึงคุ
ณงาม
ความดีของผู
้ทอที่
มีต่อพระพุ
ทธศาสนา หลั
งพิธีศพลู
กหลาน
จะตั
ดแบ่
งผ้าออกเป็
นชิ้นๆ เพื่
อเก็
บไว้เป็
นที่
ระลึก
ลวดลายบางลายของผ้
าทอนาหมื่
นศร ี
แสดงถึ
ความเชื่
อมโยงทางวั
ฒนธรรมกั
บราชสำนั
กสยาม และ
เส้
นทางการค้
าทางทะเล แต่
สี
สั
นของผื
นผ้
าโบราณแสดง
ให้เห็
นถึงการสร้างสรรค์
ด้วยโครงสีเฉพาะของท้องถิ่
Na Muen Si
Textile
The
pha to na muen si
is a kind of textile made in the
South of Thailand. It is hand woven, using a special weaving
technique called
kep tako
,
yok tako
, or
yok khao
all of which
means “heald lifting” or “heddle lifting.” The heald shafts are
lifted to allow the insertion of extra wefts to create various motifs.
The technique is similar to the
khit
method used by weavers in
the Northeastern region of the country. In the South, any material
woven by hand using the heald-lifting technique is called
yok
cloth. The main group of weavers using this technique live in the
Na Muen Si Village, Na Yong District, Trang Province.
The original
na muen
si cloth falls into three categories.
1.
Pha khao ma
(a piece of cloth used by men as a
loincloth, sash, or towel) with the rachawat motif in the middle.
Stripes of different colours are woven into the areas at both ends
of the cloth.
2.
Pha phat ba
(a shoulder scarf), is woven with the
lifted heald technique to create various motifs all over the cloth:
kaeo ching duang (overlapping floral), klip bua (lotus petals),
ta maeo (cat’s eyes), and nok (birds) motifs.
3.
Pha phan chang
(a coffin cloth) is a long
piece of hand woven
material prepared by a
weaver for his or her own
funeral. The cloth will be
laid out on top of the
cof f in wi th one end
stretched out and rested
on the footed tray holding
the consecrated cotton
threads. Thai scripts are
used as decorative motifs
that eulogi ses of the
deceased for his or her devot ion to Buddhism. After the
ceremony, the coffin cloth is cut into pieces and distributed as
keepsake among the children and grandchildren.
Certain motifs on the
na muen
si cloth point to the cultural
links with the royal court of Siam and the sea trade routes;
however, antique pieces are found to feature an folk colour
scheme that is unique to the local communities.