Page 85 - dcp7

Basic HTML Version

74
ในเอเชี
ย แต่
ปรากฏว่
าขาดทุ
น คุ
ณหญิ
งเลื่
อนฤทธิ์
จึ
งรั
บอุ
ปการะและใช้
ชื่
อละครว่
า “ละครผสมสามั
คคี
” แต่
ก็
ยั
งไม่
ประสบผลสำ
�เร็
จ จึ
งต้
องเลิ
กแสดงไปในที่
สุ
ด ต่
อมาเจ้
าคุ
ณพระประยุ
รวงศ์
ได้
สื
บทอด จนประสบความสำ
�เร็
จเป็
นที่
ชื่
นชอบอย่
างกว้
างขวาง ครั้
นคณะละครของเจ้
าคุ
ณพระประยุ
รวงศ์
เลิ
กไปก็
ไม่
มี
ผู้
ใดสานต่
ระยะที่
๒ ละครแบบผสมที่
ได้
รั
บการสนั
บสนุ
นจากราชสำ
�นั
พระเจ้
าบรมวงศ์
เธอ กรมพระนราธิ
ปประพั
นธ์
พงศ์
เมื่
อครั้
งดำ
�รงพระยศเป็
นกรมหมื
นนราธิ
ปประพั
นธ์
พงศ์
(พ.ศ. ๒๔๓๒) เจ้
าของคณะ“ละครหม่
อมต่
วน”ซึ่
งเป็
นชื่
อที่
เรี
ยกตามชื่
อหม่
อมหลวงต่
วนศรี
วรวรรณ หม่
อมของเสด็
ในกรม ฯ ได้
ทรงนำ
�แบบแผนละครตะวั
นตกมาใช้
กั
บละครไทย โดยมี
การแบ่
งองก์
แบ่
งฉาก และเปลี่
ยนฉากตามท้
อง
เรื่
องตามแบบสากล ใช้
ชื่
อละครว่
าละครนฤมิ
ต เรื่
องแรกที่
ใช้
วิ
ธี
การนี้
คื
อเรื่
อง พระลอจั
ดแสดงถวายพระบาทสมเด็
พระจุ
ลจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
วซึ่
งเล่
าว่
าเป็
นที่
พอพระราชหฤทั
ยเป็
นอย่
างยิ่
ง ทั้
งยั
งทรงรั
บไว้
ในพระอุ
ปถั
มภ์
และทรง
พระกรุ
ณาโปรดเกล้
าฯให้
เติ
มคำ
�ว่
า หลวง นำ
�หน้
าชื่
อ เป็
นละครหลวงนฤมิ
ต ต่
อมาเจ้
าจอมมารดาเขี
ยน และหม่
อมหลวง
ต่
วนศรี
วรวรรณ ได้
นำ
�แนวความคิ
ดเรื่
องการนำ
�เอาเรื่
องพงศาวดารมาแสดง โดยปรั
บปรุ
งเครื่
องแต่
งกายใหม่
และ
เรี
ยกชื่
อว่
า “ละครพั
นทาง”
ระยะที่
๓ พั
ฒนาเป็
น “แบบแผนการแสดงละครรำ
�”ในยุ
คฟื้
นฟู
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมของไทย
เมื่
อมี
การเปลี่
ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบู
รณาญาสิ
ทธิ
ราชย์
ไปสู่
ระบอบประชาธิ
ปไตยได้
มี
การจั
ตั้
งกรมศิ
ลปากรในปี
พ.ศ.๒๔๗๘ เพื่
อพั
ฒนาศิ
ลปะการแสดงที่
มี
จุ
ดมุ่
งหมายรั
บใช้
ชาติ
โดยใช้
ละครเป็
นสื่
อในการ
ประชาสั
มพั
นธ์
แนวคิ
ดชาติ
นิ
ยม เน้
นความรั
กชาติ
การแสดงละครที่
เกิ
ดขึ้
นจึ
งเป็
นละครพู
ดสลั
บการร้
องเพลงแนว
ปลุ
กใจให้
เกิ
ดความรั
กสามั
คคี
ต่
อมานั
บแต่
ปี
พ.ศ. ๒๔๘๘ หลั
งสงครามโลกครั้
งที่
๒ อธิ
บดี
กรมศิ
ลปากร พระยา
อนุ
มานราชธน ได้
มี
แนวคิ
ดที่
จะสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ไทยอั
นสะท้
อนความเป็
นชาติ
ที่
มี
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมที่
ยาวนานและโดดเด่
จึ
งทำ
�ให้
เกิ
ดการฟื้
นฟู
ศิ
ลปะโขน ละครรำ
�แบบหลวง โดยนำ
�กลวิ
ธี
การสอน การฝึ
กหั
ดโขนราชสำ
�นั
ก และนำ
�ศิ
ลปิ
นจาก
คณะละครวั
งสวนกุ
หลาบ เข้
ารั
บราชการเป็
นครู
สอนนาฏศิ
ลป์
รวมทั้
งพั
ฒนาหลั
กสู
ตร กระบวนท่
ารำ
� เพลงร้
อง ดนตรี
มี
ระบบขั้
นตอนการแสดงเป็
นมาตรฐาน และผลิ
ตศิ
ลปิ
นให้
มี
ฝี
มื
องดงาม สำ
�หรั
บการแสดงต่
อสาธารณชนนั้
น กองการ
สั
งคี
ต กรมศิ
ลปากร เป็
นหน่
วยงานสร้
างสรรค์
การแสดง ละครที่
ได้
รั
บความนิ
ยมคื
อ “ละครพั
นทาง” ซึ่
งอยู่
ในยุ
คของ
นายธนิ
ต อยู่
โพธิ์
อธิ
บดี
กรมศิ
ลปากร เป็
นละครรำ
�ที่
มี
การปรั
บบท และสร้
างกระบวนรำ
� แนววิ
ธี
การแสดงที่
ประสม
การร้
องบท การใช้
ลู
กคู่
การร่
ายรำ
� การเจรจา ประกอบการบรรเลงด้
วยวงปี่
พาทย์
ที่
ประสม ประสาน สำ
�เนี
ยงดนตรี
การขั
บร้
องมี
เครื่
องแต่
งกาย เครื่
องประดั
บ ที่
ออกแบบให้
เหมาะสมกั
บฐานะตั
วละคร เรื่
องราวเชื้
อชาติ
และสถานการณ์
ต่
างๆในเรื่
อง ละครพั
นทางเรื่
องแรกๆ ได้
แก่
พระลอ ไกรทอง พญาผานอง ราชาธิ
ราช และเรื่
องผู
ชนะสิ
บทิ
ศ นวนิ
ยาย
ของยาขอบ ที่
ดั
ดแปลงจากพงศาวดารพม่
กระบวนท่
ารำ
�ในละครพั
นทาง ใช้
กระบวนท่
ารำ
�ไทยเป็
นหลั
ก แต่
อาจจะมี
การผสมผสานลี
ลาท่
ารำ
�ของชนชาติ
ที่
ปรากฏอยู่
ในเนื้
อเรื่
องบ้
าง โดยมี
การตี
ไหล่
กระทายไหล่
เตะเท้
า กระโดด ฯลฯ เพื่
อให้
เข้
ากั
บท่
วงทำ
�นองจั
งหวะ
เพลงออกภาษาต่
างๆ การเข้
าพระเข้
านาง และการตี
ความหมายของท่
ารำ
�เน้
นความเป็
นธรรมชาติ
ไม่
เน้
นความวิ
จิ
ตร