Page 66 - dcp7

Basic HTML Version

55
เพลงนา
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
สื
บพงศ์
ธรรมชาติ
การทำ
�นาเป็
นการเกษตรสำ
�คั
ญยิ่
งของคนไทยทุ
กภู
มิ
ภาคไม่
ว่
า เหนื
อ อี
สาน กลาง ตะวั
นออก และใต้
การทำ
�นา
จุ
ดประสงค์
หลั
กคื
อเพื่
อนำ
�ผลผลิ
ตมาเป็
นอาหารประจำ
�วั
น ส่
วนข้
าวที่
เหลื
อก็
ขายนำ
�เงิ
นที่
ได้
มาจั
บจ่
ายซื้
อหาสิ่
งจำ
�เป็
ในชี
วิ
ต ข้
าวสมั
ยก่
อนจึ
งเป็
นทุ
กสิ่
งทุ
กอย่
างของชาวนาไทย ข้
าวที่
เก็
บไว้
ในยุ้
งข้
าวหรื
อคนไทยภาคใต้
เรี
ยกว่
าห้
องข้
าวนั้
จะเป็
นทุ
กสิ่
งทุ
กอย่
างที่
ได้
มาเพื่
อการบริ
โภคและอุ
ปโภค ข้
าวในยุ้
งจึ
งเป็
นประหนึ่
งเป็
นเงิ
นที
ฝากไว้
ในธนาคารอย่
าง
ปั
จจุ
บั
นนี
เอง จะต่
างกั
นตรงที
เบิ
กออกมาใช้
จ่
ายเมื่
อไรก็
ได้
เพี
ยงแต่
เอาไปแลกออกมาเป็
นเงิ
นเท่
านั้
น แต่
เมื่
อก่
อน
บางแห่
งนำ
�ข้
าวไปแลกกั
บสิ่
งของได้
เลยโดยไม่
ต้
องแปรสภาพให้
เป็
นเงิ
นก่
อน ด้
วยความสำ
�คั
ญของข้
าวและการทำ
�นา
ปลู
กข้
าวนี้
เอง ในการทำ
�นาข้
าวจึ
งมี
ประเพณี
และวั
ฒนธรรมหลายอย่
างเข้
าไปเกี่
ยวข้
องและเกิ
ดประเพณี
และวั
ฒนธรรม
จากการทำ
�นาหลายหลากประการ หนึ่
งในจำ
�นวนนี้
ที่
เกิ
ดวั
ฒนธรรมจากการทำ
�นาในช่
วงฤดู
เก็
บเกี่
ยวคื
อ “เพลงนา”
ชื่
อเพลงก็
บอกอย่
างชั
ดเจนว่
าเพลงนี้
เกิ
ดขึ้
นมานานแล้
วคู่
กั
บการทำ
�นา และมี
เรื่
องราวที่
เกี่
ยวเนื่
องกั
บการทำ
�นา
ส่
วนเนื้
อหาบางที
มี
ที่
เกี่
ยวกั
บการทำ
�นาอยู่
มากบ้
างน้
อยบ้
าง เพลงนาส่
วนใหญ่
เนื้
อหาจะเกี่
ยวกั
บความรั
เพลงนานิ
ยมเล่
นกั
นในจั
งหวั
ดภาคใต้
ของประเทศไทย ตั้
งแต่
ชุ
มพร ลงไปสุ
ราษฎร์
ธานี
และนครศรี
ธรรมราช
ปั
จจุ
บั
นการเล่
นเพลงนานิ
ยมน้
อยลง เหลื
อการเล่
นอยู่
บ้
างในจั
งหวั
ดชุ
มพร ส่
วนจั
งหวั
ดอื่
นๆ แทบจะไม่
มี
ให้
ได้
พบเห็
และได้
ยิ
นแล้
ว เพลงนาจึ
งเป็
นวั
ฒนธรรมการละเล่
นประเภทเพลงที่
มี
โอกาสสู
ญหายไปจากผื
นแผ่
นดิ
นไทย จึ
งเป็
หน้
าที่
ของคนไทยที่
จะต้
องดู
แลและรั
กษาลมหายใจสุ
ดท้
ายให้
กั
บ “เพลงนา” ซึ่
งยั
งเหลื
ออยู่
เพี
ยงแห่
งเดี
ยวที่
จั
งหวั
ชุ
มพร ภาคใต้
ของประเทศไทย
การเล่
นเพลงนามี
มานานแล้
วตั้
งแต่
รุ่
นบรรพชนของคนไทยภาคใต้
แต่
ไม่
มี
หลั
กฐานบั
นทึ
กไว้
ว่
ามี
มาตั้
งแต่
เมื่
อไร
เป็
นลั
กษณะวรรณกรรมมุ
ขปาฐะ (Oral Literature) เป็
นการร้
องปากเปล่
าโต้
ตอบกั
นอย่
างฉั
บพลั
นทั
นใดหรื
อเป็
นการ
ปฏิ
ภาณ คนไทยภาคใต้
ใช้
คำ
�ว่
า “มุ
ตโต” หากเรี
ยกผู้
เล่
นกลอนเพลงนาก็
อาจเรี
ยกได้
ว่
า “ปฏิ
ภาณกวี
” ก็
ไม่
ผิ
ด เพราะ
เมื่
อเล่
นกลอนเพลงนามี
การโต้
ตอบกั
นอย่
างต่
อเนื่
องและไม่
ช้
า ไม่
เช่
นนั้
นอาจถู
กสรุ
ปว่
าไม่
เก่
งและความสนุ
กสนานก็
จะ
ลดลงไป ผู้
ที่
อยู่
ในนาร่
วมเกี่
ยวข้
าวหรื
อเก็
บข้
าว (คนไทยภาคใต้
ใช้
แกะในการเก็
บข้
าว)ก็
จะไม่
ได้
รั
บบรรยากาศของความ
สนุ
กสนานและรื่
นเริ
ง เพลงนาเป็
นสิ่
งหนึ่
งที่
เป็
นเหตุ
จู
งใจให้
คนหนุ่
มสาว รวมทั้
งคนเฒ่
าแก่
ไปลงนาเกี่
ยวข้
าว เพราะได้
รั
บความบั
นเทิ
งจาการลงนาเกี่
ยวข้
าวหรื
อเก็
บข้
าว จั
บพลั
ดจั
บผลู
ได้
คู่
รั
กติ
ดไม้
ติ
ดมื
อกลั
บบ้
านด้
วย การเล่
นเพลงนา
หรื
อร้
องเพลงนามั
กมี
เมื่
อมี
การบอกแขกเกี่
ยวข้
าว เพราะทำ
�นาจำ
�นวนหลายไร่
คนไทยภาคใต้
เรี
ยกว่
า “นาวาน” คื
การขอช่
วยแรงของคนอื่
นที่
สนิ
ทสนมกั
นไปช่
วยเกี่
ยวข้
าวหรื
อเก็
บข้
าว การไถนาและดำ
�นาก็
ใช้
ว่
า นาวาน เช่
นเดี
ยวกั
แต่
การร้
องเพลงนาหรื
อเล่
นเพลงนานิ
ยมเฉพาะการเกี่
ยวข้
าวหรื
อเก็
บข้
าว ทั้
งนี้
เพราะฤดู
เกี่
ยวข้
าวเป็
นฤดู
แล้
ง สภาพดิ