Page 55 - dcp7

Basic HTML Version

44
บานอ
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
สนิ
ท บุ
ญฤทธิ์
บานอเป็
นเครื่
องดนตรี
ประเภทเครื่
องหนั
งขนาดใหญ่
เป็
นกลองขึ้
นหนั
งหน้
าเดี
ยวปรากฏในพื้
นที่
จั
งหวั
ดชายแดน
ภาคใต้
นิ
ยมนำ
�มาใช้
ตี
แข่
งขั
นประชั
นเสี
ยงมี
กติ
กาและกรรมการตั
ดสิ
นสร้
างความสามั
คคี
ในท้
องถิ่
บานอ เป็
นชื่
อการเล่
นชนิ
ดหนึ่
งที่
มี
กลองบานอ เป็
นหลั
กมั
กเล่
นกั
นเพื่
อความสนุ
กสนาน บอกสั
ญญาณ หรื
แข่
งขั
นเสี
ยงกั
นบานอ เป็
นคำ
�สำ
�เนี
ยงภาษามลายู
ถิ่
นของจั
งหวั
ดนราธิ
วาสยะลาและปั
ตตานี
ตลอดไปจนถึ
งรั
ฐกลั
นตั
ในประเทศมาเลเซี
ย ไม่
ปรากฏชั
ดเจนว่
าบานอเกิ
ดขึ้
น ณ ที่
ใด บางกระแสก็
ว่
าเกิ
ดขึ้
นที่
รั
ฐกลั
นตั
นก่
อน แล้
วเผยแพร่
เข้
ามาสู่
ประเทศไทยที่
อำ
�เภอสุ
ไหงโก-ลก อำ
�เภอสุ
ไหงปาดี
และอำ
�เภอแว้
ง ก่
อนที่
จะแพร่
ไปที่
อื่
การเล่
นบานอสั
นนิ
ษฐานถึ
งที่
มาเป็
น ๒ กระแส
กระแสหนึ่
งกล่
าวว่
ามี
โต๊
ะรื
อบาชาวมลายู
คนหนึ่
งชื
อ นอร์
เป็
นผู้
ต้
นคิ
ดแต่
ก็
ไม่
ได้
ระบุ
ชั
ดว่
าโต๊
ะรื
อบาผู้
นี้
เป็
นคน
ถิ่
นใดหรื
อประเทศใดซึ่
งก็
น่
าที่
จะเป็
นไปได้
ทั้
งนี้
เพราะคำ
�ว่
าโต๊
ะรื
อบา นั้
นเป็
นบุ
คคลที่
ชาวบ้
านยอมรั
บในฐานะผู้
ทรงคุ
ความรู้
ที่
เป็
นที่
นั
บถื
อของคนในสั
งคมมุ
สลิ
มเสมื
อนสั
ปตบุ
รุ
ษหรื
อปราชญ์
ชาวบ้
าน เช่
นเดี
ยวกั
บที่
ให้
ความเคารพนั
บถื
โต๊
ะอิ
หม่
ามคำ
�ว่
า โต๊
ะรื
อบานี้
คนมุ
สลิ
มกระบี่
เรี
ยกว่
า โต๊
ะระไม จึ
งมี
ความเป็
นไปได้
ที่
การเล่
นชนิ
ดนี้
เรี
ยกชื่
อตามผู้
ที่
เป็
นคนต้
นคิ
ดดั
งกล่
าว
อี
กกระแสหนึ่
งว่
า บานอ เป็
นคำ
�สำ
�เนี
ยงภาษามลายู
ถิ่
น สำ
�เนี
ยงภาษามลายู
กลางว่
า บานา คำ
�ว่
า บานา เป็
คำ
�เดี
ยวกั
บคำ
�ว่
า ระมะนา ในภาษามลายู
กลาง หรื
อ รำ
�มะนา ที่
ไทยยื
มมาจากภาษามลายู
กลางซึ่
งเดิ
มรำ
�มะนาเป็
เครื่
องดนตรี
ชนิ
ดหนึ่
งในวั
ฒนธรรมของคนทะเลทรายเชื้
อสายอาหรั
บที่
ใช้
ในพิ
ธี
รำ
�ลึ
กถึ
งพระเป็
นเจ้
า เรี
ยกว่
า เรอบานา
หมายถึ
งพระผู้
อภิ
บาลของเราแล้
วจากคำ
�ว่
า เรอบานา ก็
กลายมาเป็
น บานอ ในภาษามลายู
ถิ่
นอี
กทอดหนึ่
ง ทั้
งนี้
หาก
สั
งเกตรู
ปลั
กษณะของเครื่
องดนตรี
ชนิ
ดนี้
แล้
วก็
จะเห็
นได้
ชั
ดที
เดี
ยว
ประวั
ติ
ความเป็
นมา
ยั
งไม่
ปรากฏหลั
กฐานชั
ดเจนว่
า บานอ เกิ
ดขึ้
นที่
ใดและเมื่
อใดแต่
บานอเป็
นเครื่
องดนตรี
ที่
มี
การเล่
น ที่
ปรากฏใน
วั
ฒนธรรมของคนเชื้
อสายมลายู
ทั้
งที่
รั
ฐกลั
นตั
นประเทศมาเลเซี
ยและจั
งหวั
ดชายแดนใต้
ของไทย คื
อจั
งหวั
ดนราธิ
วาส
ที่
อำ
�เภอสุ
ไหงโก-ลก อำ
�เภอสุ
ไหงปาดี
และอำ
�เภอแว้
ง โดยเฉพาะที่
อำ
�เภอแว้
งยั
งปรากฏการเล่
นชนิ
ดนี้
อยู่
มากทั้
งในงาน
รื่
นเริ
ง งานเฉลิ
มฉลอง งานมงคลอย่
างงานแต่
งงาน งานพิ
ธี
เข้
าสุ
นั
ต ฯลฯ รวมทั้
งเล่
นเพื่
อต้
อนรั
บ แขกบ้
านแขกเมื
องด้
วย