Page 54 - dcp7

Basic HTML Version

43
๔. วงปี่
พาทย์
ดึ
กดำ
�บรรพ์
วงปี่
พาทย์
ดึ
กดำ
�บรรพ์
เป็
นวงดนตรี
ที่
มี
ขึ
นครั้
งแรกในรั
ชกาลพระบาทสมเด็
จพระจุ
ลจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว โดย
สมเด็
จพระเจ้
าบรมวงศ์
เธอ เจ้
าฟ้
ากรมพระยานริ
ศรานุ
วั
ดติ
วงศ์
ทรงปรั
บปรุ
งขึ้
น เมื่
อ พ.ศ. ๒๔๔๑ เพื่
อใช้
บรรเลง
ประกอบการแสดงละครแนวใหม่
ซึ่
งเจ้
าพระยาเทเวศร์
วงศ์
วิ
วั
ฒน์
(หม่
อมราชวงศ์
หลาน กุ
ญชร) เป็
นผู้
ริ
เริ่
มปรั
บปรุ
รู
ปแบบด้
วยการผสมผสานระหว่
างละครในกั
บละครอุ
ปรากร เจ้
าพระยาเทเวศร์
วงศ์
วิ
วั
ฒน์
ได้
สร้
างโรงละครขึ้
นใหม่
ตั้
งชื่
อว่
า “โรงละครดึ
กดำ
�บรรพ์
” จึ
งส่
งผลให้
ชื่
อ “ดึ
กดำ
�บรรพ์
” เป็
นชื่
อของละครรู
ปแบบใหม่
และวงดนตรี
ด้
วย
เครื่
องดนตรี
ที่
ประสมในวงปี่
พาทย์
ดึ
กดำ
�บรรพ์
ประกอบด้
วย ระนาดเอก ระนาดทุ้
ม ฆ้
องวงใหญ่
ระนาดทุ้
มเหล็
ขลุ่
ยเพี
ยงออ ขลุ่
ยอู้
ซออู้
ตะโพน กลองตะโพน ฆ้
องหุ่
ย ๗ ใบ และฉิ่
๕. วงปี่
พาทย์
นางหงส์
วงปี่
พาทย์
นางหงส์
เป็
นวงปี่
พาทย์
ที่
ประสมวงขึ้
นเพื่
อใช้
ประโคมในงานอวมงคลโดยเฉพาะ เป็
นการประสม
ระหว่
างวงปี่
พาทย์
กั
บวงบั
วลอยซึ่
งมี
เครื่
องดนตรี
คื
อ ปี่
ชวา ๑ เลา กลองมลายู
๒ ใบ และฆ้
องเหม่
ง ๑ ใบ การเรี
ยกว่
วงบั
วลอย เพราะเมื่
อบรรเลงเพลงในชุ
ดเพลงประโคมหลั
งจากเพลงรั
ว ๓ ลาแล้
ว จึ
งบรรเลงต่
อด้
วยเพลงบั
วลอย จาก
นั้
นจึ
งบรรเลงเพลงอื่
นๆ การประสมวงของวงปี่
พาทย์
นางหงส์
จึ
งมี
ปี่
ชวา กลองมลายู
ของวงบั
วลอย ไม่
ใช้
ฆ้
องเหม่
ส่
วนในวงปี่
พาทย์
ได้
ปรั
บเปลี่
ยนเครื่
องดนตรี
บางชนิ
ดออกไป คื
อ ปี่
ใน ตะโพน วงปี่
พาทย์
นางหงส์
ในหลายพื้
นที่
ยั
งคง
ใช้
กลองทั
ดอยู่
การที่
เรี
ยกว่
า “นางหงส์
” นั้
น เพราะมี
แบบแผนการบรรเลงที่
ต้
องใช้
เพลงเรื่
องนางหงส์
จึ
งเป็
นแนวให้
เรี
ยกชื่
อวงดนตรี
นี้
ว่
า วงปี่
พาทย์
นางหงส์
๖. วงปี่
พาทย์
มอญ
วงปี่
พาทย์
มอญ เป็
นวงดนตรี
ไทยประเภทหนึ
งที
นำ
�เครื่
องดนตรี
ในวงปี่
พาทย์
ไม้
แข็
งประสมกั
บเครื่
องดนตรี
มอญ
คื
อ ในวงปี่
พาทย์
ไม้
แข็
งมี
ระนาดเอก ระนาดทุ้
ม ระนาดเอกเหล็
ก ระนาดทุ้
มเหล็
ก ส่
วนเครื่
องดนตรี
มอญมี
ปี่
มอญ ฆ้
องมอญวงใหญ่
ฆ้
องมอญวงเล็
ก ตะโพนมอญ เปิ
งมางคอก โหม่
ง ๓ ใบ และมี
เครื่
องประกอบจั
งหวะ คื
อ ฉิ่
ฉาบเล็
ก ฉาบใหญ่
กรั
บ ในด้
านแบบแผนการบรรเลงของวงปี่
พาทย์
มอญเป็
นไปตามแนววิ
ธี
ของดนตรี
ไทยวงดนตรี
นี้
ใช้
บรรเลงในหลายโอกาส เช่
น ในงานพิ
ธี
มงคลต่
างๆ ของชาวไทยเชื้
อสายมอญ ใช้
บรรเลง – ขั
บร้
อง บทเพลงต่
างๆ
เพื่
อการฟั
ง ใช้
ประกอบการแสดงลิ
เก ใช้
บรรเลงในงานอวมงคล เช่
น งานสวดพระอภิ
ธรรมศพในวั
ฒนธรรมของ
ชาวไทยพุ
ทธ และงานฌาปนกิ
จศพ
ปั
จจุ
บั
น บทบาทการบรรเลงของวงปี่
พาทย์
แต่
ละประเภทมี
ปริ
มาณลดลง เพราะประชาชนเปลี่
ยนค่
านิ
ยมใน
การหาจ้
างไปบรรเลง ทำ
�ให้
ปี่
พาทย์
บางลั
กษณะ เช่
น วงปี่
พาทย์
ไม้
แข็
ง วงปี่
พาทย์
เสภา วงปี่
พาทย์
ดึ
กดำ
�บรรพ์
วงปี่
พาทย์
นางหงส์
เริ่
มหาฟั
งได้
ยาก บางสถานการณ์
หน่
วยงานของทางราชการ และเอกชนสนั
บสนุ
นให้
เกิ
ดขึ้
หลายแห่
งจั
ดสาธิ
ตเพื่
อการศึ
กษา มิ
ใช่
เกิ
ดขึ้
นตามกระบวนการทางวั
ฒนธรรมและวิ
ถี
ชน จึ
งนั
บเป็
นประเด็
นที่
ต้
องให้
ความสำ
�คั
ญต่
อการจั
ดการมรดกวั
ฒนธรรมปี่
พาทย์
อย่
างเร่
งด่
วนต่
อไป
ปี่
พาทย์
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๓