Page 36 - dcp7

Basic HTML Version

25
เค่
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
ประสิ
ทธิ์
เลี
ยวสิ
ริ
พงศ์
เค่
ง เป็
นคำ
�ที่
ชาวม้
ง ใช้
เรี
ยกเครื่
องดนตรี
ตระกู
ลเครื่
องลมไม้
ประเภทลิ้
นอิ
สระประจำ
�เผ่
าของตน คำ
�นี้
บางที
ได้
ยิ
นออกเสี
ยงเป็
น เก้
ง และบางที
มี
ผู้
เขี
ยนเป็
น เฆ่
ง ด้
วย
เค่
ง เป็
นเครื่
องเป่
าตระกู
ลเดี
ยวกั
นกั
บแคน ซึ่
งนอกจากพบในภาคอี
สานประเทศไทยแล้
ว ยั
งพบในจี
น ญี่
ปุ่
และชาวไทยภู
เขาเผ่
าอื่
นๆ ด้
วย แต่
มี
รู
ปร่
างลั
กษณะแตกต่
างกั
น แคนทุ
กลั
กษณะประกอบด้
วยหลอดเสี
ยงซึ่
งส่
วนมาก
ทำ
�จากไม้
ในตระกู
ลไผ่
ทุ
กหลอดมี
ลิ้
นโลหะผสม (มี
ทองเหลื
องเป็
นส่
วนผสมสำ
�คั
ญ) ผนึ
กติ
ดอยู่
ค่
อนไปทางปลายด้
านหนึ่
ส่
วนประกอบส่
วนต่
อไป คื
อ เต้
าสำ
�หรั
บสอดหลอดเสี
ยงให้
ลิ้
นเข้
าไปอยู่
ในเต้
า ส่
วนนี้
บางเผ่
าใช้
ผลนํ้
าเต้
าแห้
งทำ
�เต้
และบางเผ่
าใช้
ไม้
จริ
งทำ
�เต้
า เค่
งของชาวม้
งทำ
�ด้
วยไม้
จริ
ง มี
ท่
อเป่
าเป็
นงวงซึ่
งเป็
นไม้
เนื้
อเดี
ยวกั
นกั
บเต้
ายาวเรี
ยว
ตรงไป รวมความยาวทั้
งสิ้
นประมาณสองฟุ
ตหรื
อกว่
านั้
เค่
ง มี
หลอดเสี
ยงหกหลอด หลอดแรกมี
ขนาดใหญ่
ความยาวประมาณฟุ
ตเศษๆ มี
เสี
ยงทุ้
มตํ่
า ซึ่
งทำ
�หน้
าที่
เล่
เสี
ยงยื
น คลอเสี
ยงจากหลอดเสี
ยงอื่
นๆ อี
กห้
าหลอดซึ่
งเล่
นทำ
�นองเพลง หลอดเสี
ยงทั้
งหกสอดผ่
านเต้
าไปด้
านหลั
ประมาณ ๕ นิ้
ว ที่
เหลื
อยื่
นไปข้
างหน้
า ความยาวมี
ตั้
งแต่
ประมาณสองฟุ
ตขึ้
นไปจนถึ
งเกื
อบสามฟุ
ต เสี
ยงตํ่
าสุ
ดกั
เสี
ยงสู
งสุ
ดของเค่
งเป็
นเสี
ยงเดี
ยวกั
น แต่
ห่
างกั
นเป็
นคู
แปด เสี
ยงอื่
นๆ อี
กสี่
เสี
ยงเป็
นเสี
ยงที่
เรี
ยงกั
นอยู่
ภายในคู่
แปด
ทำ
�ให้
ระบบเสี
ยงของเค่
งเป็
นระบบห้
าเสี
ยง อั
นเป็
นระบบของดนตรี
พื้
นเมื
องที่
แพร่
หลายทั่
วไปในเอเชี
ยอาคเนย์
บทบาทที่
สำ
�คั
ญที่
สุ
ดของเค่
งในสั
งคมชาวม้
ง คื
อ การเป่
าเพลงที่
ใช้
เฉพาะในงานศพ ซึ่
งมี
เพลงสวดสลั
บกั
บการ
เป่
าเค่
งและตี
กลองตรั
วไปตลอดคื
นทุ
กคื
นตลอดงานศพซึ่
งมี
ระยะเวลานานตั้
งแต่
๕ คื
นขึ้
นไป นอกจากนี้
ตอนกลางวั
ก็
มี
การเป่
าเค่
งและตี
กลองตรั
วเป็
นระยะๆ ด้
วย งานศพบางงานมี
ระยะเวลาถึ
งสองสั
ปดาห์
ดั
งนั้
นชุ
มชนชาวม้
งจึ
งต้
อง
มี
เค่
งและมี
นั
กดนตรี
ประจำ
�หมู่
บ้
านเสมอ แต่
ในงานศพจริ
งๆ นั
กดนตรี
จากหมู่
บ้
านอื่
นๆ หลายคนจะมาช่
วยนั
กดนตรี
ในหมู่
บ้
านที่
มี
งานศพ เพราะภาระหน้
าที่
ดั
งกล่
าวใช้
เวลายาวนานมากจนนั
กดนตรี
คนเดี
ยวหรื
อสองคนไม่
สามารถยื
ระยะได้
เพลงที่
ใช้
ในงานศพของชาวม้
งทุ
กเพลงเป็
นเพลงต้
องห้
ามไม่
สามารถนำ
�ไปเป่
าในกาลเทศะอื่
นๆได้
แม้
แต่
เพลงที
ใช้
ตอนกลางวั
นกั
บตอนกลางคื
นก็
ใช้
สลั
บกั
นไม่
ได้
เพลงสำ
�หรั
บเป่
าเค่
งในงานศพที
สำ
�คั
ญมี
หลายเพลง แต่
ละเพลงมี
บทบาทหน้
าที่
เฉพาะ เช่
น เพลงที่
ใช้
เป่
าเพื่
อบอกให้
ผู้
ตายทราบว่
าตนนั้
นได้
ตายแล้
วนั้
น ยั
งสามารถแบ่
งได้
ตามอายุ
และแบ่
งตามลั
กษณะของการตายที่
แตกต่
างกั
นไปอี
กด้
วย (หลื
อ เตชะเลิ
ศพนา, สั
มภาษณ์
๒๑ เมษายน ๒๕๕๗)
นอกจากนี้
มี
เพลงที่
เป่
าเพื่
อจุ
ดหมายปลายทางที่
ภพภู
มิ
ของคนตาย เพลงที่
บรรยายถึ
งการมี
ชี
วิ
ตและการแตกดั
ซึ่
งเป็
นธรรมดาของทุ
กภู
มิ
ทุ
กภพ เพลงที่
แนะนำ
�ให้
วิ
ญญาณผู้
ตายรู้
จั
กบรรพบุ
รุ
ษ และเพลงที่
แนะนำ
�วิ
ธี
เดิ
นทางไปพบ
บรรพบุ
รุ
ษยั
งภพใหม่
ของตน เป็
นต้