Page 35 - dcp7

Basic HTML Version

24
ขั
บเสภา
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
กาญจนา อิ
นทรสุ
นานนท์
การขั
บเสภา มี
มาตั้
งแต่
สมั
ยกรุ
งเก่
า แต่
จะมี
ขึ้
นเมื่
อใดไม่
ปรากฏ
ราชบั
ณฑิ
ตยสถาน (๒๕๔๒: ๒๔-๒๕) ได้
ให้
ความหมายของเสภาไว้
ว่
า “การขั
ลำ
�นำ
�ประเภทหนึ่
ง มี
มาแต่
โบราณ แต่
เดิ
มนั้
นว่
ามาจากการเล่
านิ
ทาน ต่
อมาได้
มี
การ
ปรั
บปรุ
งทำ
�นองและจั
งหวะมาเป็
นลำ
�ดั
บ รวมทั้
งมี
การใช้
กรั
บ ซึ่
งทำ
�ด้
วยไม้
เนื้
อแข็
มาขยั
บให้
เกิ
ดเสี
ยงประกอบการขั
บ ผู้
ขั
บจะถื
อกรั
บไว้
ทั้
งสองมื
อ มื
อละคู่
ขยั
บกรั
ให้
สอดคล้
องเข้
ากั
บการขั
บ การขยั
บกรั
บจะต้
องพอเหมาะพอดี
กั
บบทที่
ใช้
ขั
บตาม
ลั
กษณะทำ
�นอง “...และการขั
บเสภานั้
นมี
ความเกี่
ยวข้
องกั
บการเล่
านิ
ทานอี
กด้
วย
เรื่
องที่
นิ
ยมขั
บเสภาคื
อ “ขุ
นช้
างขุ
นแผน” ซึ่
งมี
ความสั
มพั
นธ์
กั
นทั้
งวรรณศิ
ลป์
และ
คี
ตศิ
ลป์
ถ้
าผู้
เล่
านิ
ทานมี
กลวิ
ธี
การเล่
าเรื่
องโดยการใช้
การขั
บลำ
�นำ
�เพื่
อให้
เรื่
องราว
มี
ความสนุ
กสนาน ให้
ผู
ฟั
งได้
รสของความสนุ
ก บั
นเทิ
งเริ
งรมย์
ดี
กว่
าการเล่
าเป็
ร้
อยแก้
วธรรมดา เหมื
อนการอ่
านหนั
งสื
อให้
ฟั
ง ซึ
งน่
าเบื
อในบางครั
ง เมื
อผู
ฟั
งได้
ฟั
การขั
บเสภามี
ความสนุ
กสนานไพเราะก็
นิ
ยม เรื
องราวที
นิ
ยมขั
บคื
อ ขุ
นช้
างขุ
นแผน
ซึ่
งเป็
นวรรณคดี
ที่
ได้
รั
บการยกย่
องให้
เป็
นเลิ
ศในประเภทกลอนสุ
ภาพ สามารถกล่
าวได้
ว่
า การขั
บเสภาเรื่
องขุ
นช้
าง
ขุ
นแผน มี
ส่
วนทำ
�ให้
วรรณคดี
เรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผนเป็
นที่
นิ
ยม จนเรี
ยกกั
นว่
า “เสภาเรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผน”
ครู
ที่
มี
ชื่
อเสี
ยงทางด้
านการขั
บเสภาตั้
งแต่
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์
จนถึ
งปั
จจุ
บั
นมี
ด้
วยกั
นหลายท่
าน เช่
น ครู
ท้
วม
ประสิ
ทธิ
กุ
ล ครู
แจ้
ง คล้
ายสี
ทอง และครู
ศิ
ริ
วิ
ชเวช นั้
นได้
รั
บยกย่
องจากกรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรมให้
เป็
นศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
ในด้
านศิ
ลปะการแสดงคี
ตศิ
ลป์
อี
กด้
วย
รู
ปแบบของเสภา มี
๔ ประเภท ได้
แก่
เสภาเล่
าเรื่
องหรื
อเสภานิ
ทาน เสภาทรงเครื่
องหรื
อเสภาส่
งเครื่
อง เสภารำ
เสภารำ
�แนวตลก สำ
�หรั
บกระบวนการทางการขั
บเสภา บ้
างมี
การนำ
�นาฏศิ
ลป์
มาแสดงประกอบการขั
บเสภา
มี
การบรรเลงดนตรี
มี
เพลงหน้
าพาทย์
ประกอบ เช่
น เสภารำ
� เป็
นต้
น การขั
บเสภานั้
นเป็
นลั
กษณะของศิ
ลปะการแสดง
อย่
างหนึ่
งที่
มี
มานานแล้
ว มี
ความพิ
เศษที่
ต้
องมี
การขั
บและขยั
บกรั
บผสมผสานกั
นไปให้
เกิ
ดความไพเราะในศิ
ลปะ
การขั
บและขยั
บกรั
บเสภา ใช้
แสดงทั้
งในราชสำ
�นั
กและใช้
ในการแสดงละคร ตลอดจนการขั
บฟั
งกั
นในระดั
บชาวบ้
าน
เป็
นการประเทื
องปั
ญญาได้
ทั้
งความเพลิ
ดเพลิ
นและสุ
นทรี
ยรสของดนตรี
คี
ตศิ
ลป์
ขั
บเสภา ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๔
นายศิ
ริ
วิ
ชเวช ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
สาขาศิ
ลปะการแสดง (ดนตรี
ไทย)
ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๓