Page 70 - dcp6

Basic HTML Version

59
หลั
งจากนั้
นท้
าวโคจรก็
กระโดดลงนํ้
า คื
นร่
างเป็
นจระเข้
ตั
วใหญ่
ฟาดหั
วฟาดหางโครมคราม สถานที่
ตรงนั้
นจึ
ได้
ชื่
อว่
“ดาวคะนอง”
เนื่
องมาจากความคึ
กคะนองของท้
าวโคจร ท้
าวโคจรได้
เข้
าต่
อสู
จนจระเข้
หั
วเมื
องใต้
ล้
มตายไป
มาก จระเข้
เหล่
านั้
นจึ
งไปรายงานท้
าวพั
นตา ท้
าวพั
นตาก็
เข้
าต่
อสู้
กั
บท้
าวโคจร จระเข้
ทั้
งสองสู้
กั
นอยู่
ถึ
งเจ็
ดวั
นเจ็
ดคื
สุ
ดท้
ายท้
าวพั
นตาเป็
นฝ่
ายเสี
ยท่
าถู
กท้
าวโคจรฆ่
าตาย พวกจระเข้
บริ
วารเมื่
อเห็
นหั
วหน้
าของตนตายก็
ไปรายงาน
พญาพั
นวั
ง พญาพั
นวั
งจึ
งขึ้
นมาแก้
แค้
น แต่
ก็
เกื
อบจะเสี
ยที
ท้
าวโคจร เนื่
องจากท้
าวพั
นวั
งมี
กำ
�ลั
งน้
อยกว่
กล่
าวถึ
ง เจ้
าพ่
อองครั
กษ์
ซึ่
งเป็
นเจ้
านํ้
าบริ
เวณนั้
น สงสารพญาพั
นวั
งซึ่
งเป็
นจระเข้
อยู่
ในถิ่
นของตนเจ้
าพ่
อจึ
ลงประทั
บที่
หั
วของพญาพั
นวั
ง ทำ
�ให้
พญาพั
นวั
งมี
กำ
�ลั
งมากขึ้
น และด้
วยเหตุ
นี้
คนทั่
วไปจึ
งเรี
ยกตำ
�แหน่
งนั้
นว่
“ที่
นั่
องค์
อมริ
นทร์
พระอิ
ศวร”
เมื่
อท้
าวโคจรเห็
นว่
าเจ้
าพ่
อองครั
กษ์
ประทั
บอยู่
บนหั
วของพญาพั
นวั
งก็
ตั
ดพ้
อว่
าเหตุ
ใดจึ
งมาช่
วยจระเข้
พาลอย่
าง
พญาพั
นวั
ง แต่
พญาพั
นวั
งกลั
บอวดดี
บอกว่
าตนเก่
งเอง ไม่
ได้
มี
เทวดาที่
ไหนมาช่
วย เจ้
าพ่
อองครั
กษ์
จึ
งออกจากหั
วของ
จระเข้
ทำ
�ให้
พญาพั
นวั
งถู
กท้
าวโคจรฆ่
าตายในที่
สุ
หลั
งจากนั้
นท้
าวโคจรก็
ได้
คาบหั
วของท้
าวพั
นวั
งมาทำ
�พิ
ธี
บวงสรวงถวายเทวดาอารั
กษ์
ที
ช่
วยปราบจระเข้
พาล
สำ
�เร็
จ ที่
ศาลเจ้
าพ่
อพระประแดง ด้
วยเหตุ
นี้
จึ
งเกิ
ดธรรมเนี
ยมนำ
�หั
วจระเข้
ไปไว้
ที่
ศาลเจ้
าพ่
อตามลำ
�แม่
นํ้
า เมื่
อปราบ
จระเข้
พาลแล้
วท้
าวโคจรก็
กลั
บไปยั
งถิ่
นในภาคเหนื
ตำ
�นานประจำ
�ถิ่
นเรื่
องนี้
เล่
าต่
อๆ กั
นมา ในภายหลั
งได้
มี
ผู้
นำ
�ไปผนวกเข้
ากั
บเรื่
องของไกรทองหมอจระเข้
ลื
อชื่
จึ
งมาปรากฏอยู่
ในตอนต้
นของ บทละครนอก เรื่
อง ไกรทอง พระราชนิ
พนธ์
ในพระบาทสมเด็
จพระพุ
ทธเลิ
ศหล้
นภาลั
ย เรื่
องเริ่
มเมื่
อท้
าวโคจรทะเลาะวิ
วาทกั
บท้
าวพั
นตาและพญาพั
นวั
งจนฆ่
ากั
นตายทั้
งสามตั
ว แล้
วชาละวั
นได้
รั
มอบอำ
�นาจให้
ปกครองบริ
วารทั
งปวง และเริ่
มประพฤติ
ผิ
ดศี
ลโดยจั
บมนุ
ษย์
กิ
นเป็
นอาหารวั
นหนึ่
งไปฉุ
ดนางมนุ
ษย์
ตะเภาทองมาเป็
นเมี
ย ไกรทองจึ
งออกมาปราบจนได้
รั
บชื่
อเสี
ยงเงิ
นทอง และได้
แต่
งงานกั
บสองพี่
น้
องนางตะเภาทอง
และนางตะเภาแก้
ว จะเห็
นได้
ว่
าบทละครนอกเรื่
อง ไกรทอง ได้
เชื่
อมโยงนิ
ทานประจำ
�ถิ่
นทั้
ง ๓ เรื่
องเข้
าด้
วยกั
แสดงให้
เห็
นถึ
งความสั
มพั
นธ์
ของคนในลุ่
มนํ้
าเจ้
าพระยาตอนต้
นนํ้
า คื
อ พิ
จิ
ตร กลางนํ้
า คื
อ นนทบุ
รี
และปลายนํ้
าก่
อน
ออกปากอ่
าวไทยที่
ธนบุ
รี
นิ
ทานไทยภาคกลางสะท้
อนภาพของจระเข้
ในสั
งคมไทยว่
าได้
รั
บการยกย่
องให้
เป็
นสั
ตว์
ศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
เห็
นได้
จาก
เรื่
องราวของจระเข้
เจ้
าและจระเข้
บริ
วารเจ้
าพ่
อเจ้
าแม่
ในตำ
�นานประจำ
�ถิ่
นของภาคกลาง ทั้
งยั
งมี
หลั
กฐานยื
นยั
นเป็
ศาลจระเข้
เจ้
าหรื
อศาลเจ้
าพ่
อเจ้
าแม่
ที่
มี
จระเข้
เป็
นบริ
วารตั้
งอยู่
ประจำ
�ถิ่
นต่
างๆ อี
กด้
วย
คนไทยมี
ความเชื่
อเรื่
องจระเข้
ว่
า หากผู้
ใดไม่
ยอมทำ
�บุ
ญสุ
นทาน จะต้
องกลายเป็
นจระเข้
เฝ้
าขุ
มสมบั
ติ
อยู่
อย่
าง
ทรมานจนตาย ซึ่
งสอดคล้
องกั
บความเชื่
อทางพุ
ทธศาสนาที่
ได้
บั
ญญั
ติ
ไว้
ว่
า หากผู้
ใดตระหนี่
ในทานจะมี
ผิ
วพรรณไม่
สวยงาม และไม่
มี
เครื่
องอุ
ปโภคบริ
โภค เนื
องจากจระเข้
เป็
นสั
ตว์
ที่
มี
ผิ
วพรรณขรุ
ขระไม่
สวยงาม ทั้
งยั
งต้
องใช้
เวลาหลาย
วั
นเพื่
อหาเหยื่
ออี
กด้
วย
ตำ
�นานชาละวั
น ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๗