Page 59 - dcp5

Basic HTML Version

50
ชาวพวนส่
วนใหญ่
นั
บถื
อพุ
ทธศาสนา เป็
นคนใจบุ
ญสุ
นทาน ทำ
�บุ
ญเข้
าวั
ดประจำ
� ชาวพวนยั
งรั
กษา
ขนบธรรมเนี
ยมและประเพณี
ต่
างๆ ไว้
อย่
างเหนี
ยวแน่
นถึ
งปั
จจุ
บั
น อาทิ
เดื
อนอ้
ายมี
ประเพณี
บุ
ญข้
าวจี่
เดื
อนยี่
มี
บุ
ญข้
าวหลาม เดื
อนสามเป็
นบุ
ญกำ
�ฟ้
า เดื
อนห้
าบุ
ญสงกรานต์
เดื
อนแปดบุ
ญเข้
าพรรษา เดื
อนเก้
าบุ
ญห่
อเข้
าดำ
�ดิ
หรื
อสารทพวน เดื
อนสิ
บบุ
ญทานเข้
าวสาหรื
อบุ
ญสลากภั
ต เดื
อนสิ
บเอ็
ดบุ
ญเอาะวะสา และบุ
ญเดื
อนสิ
บสอง ได้
แก่
บุ
ญข้
าวเม่
ในด้
านภาษา ภาษาพู
ดของชาวไทยพวนจะมี
ความคล้
ายคลึ
งกั
บภาษาไทยและภาษาถิ่
นภาคตะวั
นออกเฉี
ยง
เหนื
อหรื
อภาษาถิ่
นอี
สานมาก วงคำ
�ศั
พท์
คล้
ายกั
บภาษาไทยแต่
มี
บางคำ
�ที่
เป็
นคำ
�ศั
พท์
เฉพาะของชาวไทยพวนที่
แตก
ต่
างจากภาษาไทยและคล้
ายกั
บภาษาถิ่
นอี
สาน ส่
วนภาษาเขี
ยนของชาวไทยพวนนั้
น แต่
เดิ
มใช้
อั
กษรไทยน้
อยและ
อั
กษรธรรมอี
สาน แต่
ปั
จจุ
บั
นไม่
มี
ผู้
ศึ
กษาภาษาเขี
ยนมากนั
ก ภาษาเขี
ยนเหล่
านี้
จึ
งเป็
นเพี
ยงหลั
กฐานที่
ปรากฏ ในสมุ
ข่
อยและใบลานเท่
านั้
น ซึ่
งส่
วนใหญ่
จะเป็
นบทสวดและตำ
�รายาโบราณ แม้
ชาวบ้
านที่
ครอบครองตำ
�รานี้
มี
จำ
�นวนน้
อย
ที่
สามารถอ่
านตำ
�รายาเหล่
านี้
ได้
ภาษาพวนมี
พยั
ญชนะ ๒๐ หน่
วยเสี
ยง ได้
แก่
/ป, ต, ก, อ, พ/ผ, ท/ถ, ค/ข, บ, ด, จ, ฟ/ฝ, ซ/ส, ฮ/ห, ม, น,
ญ,ง,ล, ว, ย/ หน่
วยเสี
ยงทั้
ง ๒๐ หน่
วยเสี
ยงนี้
ปรากฏในตำ
�แหน่
งพยั
ญชนะต้
นได้
ทั้
งหมดและหน่
วยเสี
ยงที่
เป็
นพยั
ญชนะ
ท้
ายมี
๙ หน่
วยเสี
ยง คื
อ /บ/ป/พ/ฟ/, ด/ต/ท/ธ/ฒ/ฑ, ก/ข/ค,ม, น/ณ/รร, ง, ว, ย/ และพยางค์
ที่
มี
สระ เสี
ยงสั้
นและ
ไม่
มี
พยั
ญชนะสะกดจะปรากฏเสี
ยงกั
กที่
เส้
นเสี
ยงข้
างท้
าย ส่
วนพยั
ญชนะควบกลํ้
ามี
๒ หน่
วยเสี
ยง คื
อ /กว, คว/ขว/
สำ
�หรั
บเสี
ยงสระนั้
น ภาษาไทยพวนมี
สระเดี่
ยว ๑๘ หน่
วยเสี
ยง ได้
แก่
/อิ
, อี
, เ-ะ, เ, แ-ะ, แ , อึ
, อื
, เ-อะ, เ-อ, อะ, อา,
อุ
, อู
, โ-ะ, โ-, เ-าะ, ออ/ สระประสมมี
๓ หน่
วยเสี
ยง ได้
แก่
/เอี
ย, เอื
อ, อั
ว/ ส่
วนหน่
วยเสี
ยงวรรณยุ
กต์
ในภาษาไทย
พวนมี
๖ หน่
วยเสี
ยง ระดั
บเสี
ยงจะแตกต่
างไปตามท้
องถิ่
นที่
อาศั
ยอยู่
ในที่
นี้
จะกล่
าวถึ
งหน่
วยเสี
ยงวรรณยุ
กต์
ที่
บ้
านหาดเสี้
ยว อำ
�เภอศรี
สั
ชนาลั
ย จั
งหวั
ดสุ
โขทั
ย ดั
งนี้
เสี
ยงตํ่
าระดั
บ เสี
ยงตํ่
า-ขึ้
น เสี
ยงกลางระดั
บ เสี
ยงกลาง-ตก
เสี
ยงกลาง-ขึ้
น เสี
ยงสู
งระดั
บ และเสี
ยงสู
ง-ตก
ตั
วอย่
างคำ
�ในภาษาพวนที่
ต่
างหรื
อออกเสี
ยงต่
างจากภาษาไทย เช่
น เสี
ยง [ช] ในภาษาไทยออกเสี
ยงเป็
น [ซ/ส]
ในภาษาพวน เช่
น ซ้
าง‘ช้
าง’ กะซอน ‘กระชอน’ กะเสด ‘กระเฉด’ ซั
ง ‘ชั
ง’ ใซ้
‘ใช้
’ เสี
ยง [ร] ในภาษาไทยออกเป็
เสี
ยง [ฮ] ในภาษาไทยพวน เช่
น เฮื
อน ‘เรื
อน’ ฮั
ก ‘รั
ก’ ฮู้
‘รู้
’ ฮ้
อง ‘ร้
อง’ภาษาพวนไม่
มี
เสี
ยงควบกลํ้
า [ร] และ [ล] เช่
คำ
�ว่
า ‘ปลา’ ในภาษาไทย เป็
น ‘ปา’คำ
�ว่
า ‘พลู
’ ในภาษาไทย เป็
น ‘พู
’ ในภาษาพวน และ‘กระด้
ง’เป็
น ‘กะด้
ง, ด้
ง’
‘กรน’ เป็
น ‘กน’‘เกลื
อ’ เป็
น ‘เกื
อ’ เสี
ยง [ตร] ในภาษาไทยเป็
นเสี
ยง [ก] ในภาษาพวน เช่
น กา ‘ตรา’ กอก ‘ตรอก’
กวด ‘ตรวจ’ กวดกา ‘ตรวจตรา’ คำ
�ที่
ออกเสี
ยงสระต่
างจากภาษาไทย เช่
น เผิ้
ง ‘ผึ้
ง’ เถิ
ง ‘ถึ
ง’ เบอ‘ใบ’ เต้
อ‘ใต้
เภ้
อ‘สะใภ้
’ ปั่
ว ‘ปลวก’ แอว ‘เอว’ คำ
�ใช้
ต่
างจากภาษาไทย เช่
น มื้
อ ‘วั
น’ เผอ‘ใคร’ ผิ
เหลอ ‘อะไร’ เอ็
ดเฮี้
ย‘ทำ
�ไม’
เฮอะ‘ขี้
เหร่
ไม่
สวย’ กะไต ‘ตะไกร, กรรไกร’ กะต้
อ ‘ตะกร้
อ’ กะตุ
ด ‘ตะกรุ
ด’ สาด ‘เสื่
อ’ เฮื
อน ‘บ้
าน’ เสี่
ยว ‘เพื่
อน’
มะหุ่
ง, หม่
าหุ่
ง‘มะละกอ’ มะทั
น, หม่
าทั
น, มะกะทั
น, หม่
ากะทั
น‘พุ
ทรา’ มะเขี
ยบ, หม่
าเขี
ยบ‘น้
อยหน่
า’เข้
าล้
อมแล้
‘ขนมบั
วลอย’ เข้
าล่
องซ่
อง ‘ขนมลอดช่
อง’สายดื
อ, สายบื
อ, สายแห่
‘สะดื
อ’ ซวย ‘กรวย’ ต่
อน‘ชิ้
น’ คั
นได ‘บั
นได’