Page 53 - dcp4

Basic HTML Version

42
๕) อปจารยนะ (อปจายนมั
ย)
คื
อ ความเป็
นผู้
นอบน้
อมไม่
แข็
งกระด้
าง แสดงคารวะต่
อผู้
ที่
ควร
นอบน้
อมทั้
งผู้
ที่
สู
งกว่
าด้
วยวั
ย ด้
วยชาติ
ตระกู
ล และด้
วยคุ
ณธรรม
๖) เวยยาวั
จจะ (เวยยาวั
จจมั
ย)
คื
อ การขวนขวายช่
วยเหลื
อในกิ
จที่
ชอบที่
ควรกระทำ
�ให้
ลุ
ล่
วง คื
ใช้
ทรั
พย์
แรงกาย สติ
ปั
ญญา และกำ
�ลั
งใจ ช่
วยงานผู้
อื่
นหรื
อช่
วยงานสาธารณะให้
ลุ
ล่
วง หรื
อผ่
านพ้
นปั
ญหาอุ
ปสรรค
ไปได้
ด้
วยดี
ด้
วยวิ
ธี
ที่
ถู
กที่
ควร
๒.๓ หมวดภาวนา
๗) ธั
มมั
สสวนะ (ธั
มมั
สสวนมั
ย)
คื
อ การฟั
งธรรม หรื
อฟั
งคำ
�แนะนำ
�อั
นเป็
นธรรม เป็
นการศึ
กษา
หาความรู้
เพื่
อให้
เข้
าใจในหลั
กพระธรรมคำ
�สอนของพระสั
มมาสั
มพุ
ทธเจ้
า จนเกิ
ดปั
ญญา ไม่
ว่
าจะฟั
งธรรมโดยตรง
หรื
อจากสื่
อต่
างๆ เช่
น วิ
ทยุ
โทรทั
ศน์
ฯลฯ ก็
นั
บว่
าเป็
นการฟั
งธรรมทั้
งนั้
๘) ธั
มมเทสนา (ธั
มมเทสนามั
ย)
คื
อ การแสดงธรรม เมื่
อได้
ศึ
กษาธรรมะแล้
ว ทำ
�การถ่
ายทอดหรื
ให้
คำ
�แนะนำ
�อั
นเป็
นธรรมแก่
ผู้
อื่
น ด้
วยใจที่
หวั
งจะให้
ผู้
ฟั
งได้
รั
บประโยชน์
โดยที่
ตนมิ
ได้
มุ่
งหวั
งในลาภสั
กการะใดๆ
การแนะนำ
�คนให้
เกิ
ดปั
ญญาแม้
เล็
กน้
อย นั
บเป็
นบุ
ญประการหนึ่
ง ที่
ให้
ผลมากว่
าทานทั้
งปวง
๙) ภาวนา (ภาวนามั
ย)
คื
อ การอบรมจิ
ตให้
ตั้
งมั่
นอยู่
ในความดี
ภาวนาสำ
�หรั
บคนทั่
วไป ได้
แก่
การศึ
กษาเล่
าเรี
ยน หมั่
นฟั
ง หมั่
นคิ
ด หมั่
นท่
องบ่
นหลั
กวิ
ชาการต่
างๆ หมั่
นสนทนากั
บ ท่
านผู้
รู้
จนเกิ
ดความฉลาด หรื
โดยการสวดมนต์
อ่
านหนั
งสื
อธรรมะ ฯลฯ เพื่
อทำ
�ใจให้
สงบ ทำ
�ปั
ญญา (ความรู้
แจ้
งเห็
นจริ
ง) ให้
เกิ
ดขึ้
น การภาวนา
ที่
ละเอี
ยดมากขึ้
น ได้
แก่
สมถภาวนา (สมถกั
มมั
ฏฐาน) คื
อการทำ
�จิ
ตให้
อยู่
ในอารมณ์
เดี
ยว ด้
วยการนั่
งสมาธิ
และ
วิ
ปั
สสนาภาวนา (วิ
ปั
สสนากั
มมั
ฏฐาน) คื
อใช้
ปั
ญญาพิ
จารณาให้
เห็
นแจ้
งในธรรมชาติ
ของสั
งขารธรรมทั้
งปวง ด้
วยการ
ฝึ
กฝนการทรมาน การดั
ดสั
นดานและด้
วยการข่
มใจ
๒.๔ หมวดที่
เข้
าได้
กั
บทุ
กหมวด
๑๐) ทิ
ฏฐุ
ชุ
กั
มม์
(ทิ
ฏฐุ
ชุ
กั
มม์
)
คื
อ การทำ
�หรื
อการปรั
บปรุ
งความคิ
ดเห็
นของตนให้
ให้
ตรง (ตามทำ
�นอง
คลองธรรม) หรื
อ สั
มมาทิ
ฏฐิ
แปลว่
า ความเห็
นถู
กต้
อง หมายถึ
งความเห็
นที่
ถู
กคลองธรรม เห็
นตามความเป็
นจริ
งเป็
ความเห็
นที่
เกิ
ดจากโยนิ
โสมนสิ
การ ประกอบด้
วยปั
ญญา
บุ
ญ คื
อที่
พึ่
งของสั
ตว์
โลก กล่
าวคื
อ มนุ
ษย์
หรื
อสั
ตว์
โลกทั้
งหลายจะอยู่
ดี
มี
สุ
ขก็
ด้
วยบุ
ญกุ
ศล จะทุ
กข์
ยาก
เดื
อดร้
อนก็
ด้
วยบาปอกุ
ศลที่
ตนได้
เคยกระทำ
�ไว้
บุ
ญอั
นบุ
คคลได้
บำ
�เพ็
ญและสั่
งสมไว้
ดี
แล้
ว ย่
อมให้
ผลเป็
นความสำ
�เร็
เป็
นความเจริ
ญรุ่
งเรื
อง และสั
นติ
สุ
ขในชี
วิ
ต กิ
จที่
ทำ
�ในการทำ
�บุ
ญ นั้
นต้
องเป็
นประโยชน์
ต่
อตนเอง และผู้
อื่
น โดยถู
ทำ
�นองคลองธรรม ซึ่
งการทำ
�ความดี
ทุ
กอย่
างย่
อมไม่
มี
ข้
อจำ
�กั
ดเขตหรื
อจำ
�กั
ดเวลาใดๆ ถ้
าเป็
นการทำ
�ความดี
แล้
วจะ
ทำ
�อย่
างไรหรื
อเมื่
อไรก็
นั
บเป็
นการทำ
�บุ
ญทั้
งสิ้
น และการทำ
�บุ
ญหมายรวมถึ
งการเว้
นความชั่
วด้
วย
ทานเป็
นเครื
องกำ
�จั
ดกิ
เลสอย่
างหยาบคื
อความโลภ เพราะการให้
ทานเป็
นการลดความเห็
นแก่
ตั
วความ
ตระหนี่
ถี่
เหนี
ยว และความคั
บแคบในจิ
ตใจให้
น้
อยลง ทำ
�ให้
เราไม่
ยึ
ดติ
ดในวั
ตถุ
สิ
งของ อี
กทั้
งสิ่
งที่
เราบริ
จาคหรื
อให้
ทาน
แก่
ผู้
อื่
นก็
จะช่
วยบรรเทาความเดื
อดร้
อน และเป็
นประโยชน์
ต่
อผู้
รั
บ และสั
งคมโดยส่
วนรวม ผู้
ที่
ได้
บุ
ญจากทานมั
ยย่
อม
เป็
นคนกว้
างขวาง เป็
นที่
รั
กและเคารพของปวงชน