Page 46 - dcp3

Basic HTML Version

35
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
เรี
ยบเรี
ยงโดย ศาสตราจารย์
วิ
บู
ลย์
ลี้
สุ
วรรณ
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
เป็
นหั
ตถกรรมเก่
าแก่
ของไทยที่
ทำ
�สื
บต่
อกั
นมานาน
หลายร้
อยปี
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
ในอดี
ตอาจมี
รู
ปแบบและลวดลายที
ไม่
ซั
บซ้
อน
เพราะวั
ตถุ
ประสงค์
สำ
�คั
ญคื
อ ทำ
�เพื่
อใช้
สอยจึ
งมี
รู
ปแบบและลวดลาย
สอดคล้
องกั
บการใช้
สอย วั
ฒนธรรม และรสนิ
ยมของกลุ่
มชน
เอกลั
กษณ์
ของเครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
ของไทยประการหนึ่
งคื
อ การสร้
าง
ลวดลายที่
หลากหลาย ตั้
งแต่
ลายขั
ด ซึ่
งเป็
นลายพื้
นฐานและพั
ฒนาให้
มี
ความงามควบคู่
ไปกั
บการใช้
สอย เช่
น ลายขั
ดโปร่
งยอนดอก ลายขั
ดกั
นเป็
ตาโปร่
งๆ แล้
วใช้
ตอกเล็
กๆ สอดเข้
าไปทำ
�ให้
เกิ
ดดอกเล็
กๆในตาโปร่
งนั้
น ลายสองเวี
ยน คลี่
คลายเป็
น ลายสองเวี
ยน
ลายสองยื
น ลายข้
างกระแต ลายดี
หล่
ม ลายดี
กระจาย ลายสาม ลายขั
ดเช่
นเดี
ยวกั
บลายสอง แต่
เพิ่
มตอกเป็
นสามเส้
“ยกสาม ข่
มสาม” จะได้
ลายแนวทแยงสวยงามใช้
สานเสื่
อลำ
�แพน ฝาเรื
อน หรื
อภาชนะขนาดใหญ่
ลายสามยกดอก
ลายสองที่
ใช้
ดี
เป็
นแกน สร้
างดอกลายสี่
เหลี่
ยมเรี
ยงสลั
บกั
นไป เช่
นเดี
ยวกั
บลายสองยกดอก แต่
เพิ่
มตอกเป็
นสามเส้
ลายชนิ
ดนี้
ใช้
สานฝาเรื
อน พั
ด หมวก ก่
องข้
าว เป็
นต้
น ลายสามคลี่
คลายเป็
น ลายประสุ
ลายดี
หล่
ม ลายดี
ตะแคง ลาย
ดาวล้
อมเดื
อน ลายยกดอก ลายตาหมากรุ
ก ลายตะแกรง ลาย ลายเสื่
นอกจาก ลายสานที่
แสดงให้
เห็
นภู
มิ
ปั
ญญาของช่
างจั
กสานแล้
ว งานจั
กสานบางชนิ
ด ยั
งแสดงให้
เห็
นภู
มิ
ปั
ญญา
ในการสร้
างรู
ปแบบและลวดลายให้
สอดคล้
องกั
บวั
ฒนธรรมด้
วย เช่
น ก่
องข้
าว และกระติ
บข้
าว ภาชนะสำ
�หรั
บใส่
ข้
าว
เหนี
ยวนึ่
ง ที่
มี
ลั
กษณะพิ
เศษคื
อ การสานซ้
อนกั
น ๒ ชั้
น ช่
วยให้
ไอร้
อนจากข้
าวเหนี
ยวนึ่
ง ระเหยออกไปอย่
างช้
าๆ ทำ
�ให้
ข้
าวเหนี
ยวนึ่
งร้
อนและอยู่
ได้
นาน
ภู
มิ
ปั
ญญาสำ
�คั
ญในการจั
กสานไม้
ไผ่
คื
อ สานเพื่
อสนองความเชื่
อของกลุ่
มชน เช่
น เฉลว (ภาคเหนื
อ-อี
สาน เรี
ยก
ลายตาแหลว ภาคใต้
เรี
ยก ลายตาหลิ่
ว) ตอกไม้
ไผ่
พั
บขั
ดกั
นเป็
นห้
าหรื
อหกมุ
มคล้
ายดาวห้
าแฉกหรื
อหกแฉก ใช้
ปั
กเป็
สั
ญลั
กษณ์
เช่
น ปั
กเพื่
อแสดงความเป็
นเจ้
าของหรื
อบอกขายสิ่
งนั้
น หรื
อปกป้
องกั
นสิ่
งชั่
วร้
ายมาให้
เข้
ามาในบริ
เวณที่
ปั
กเฉลวไว้
ปั
กไว้
บนหม้
อยา เพื่
อป้
องกั
นสิ่
งชั่
วร้
ายไม่
ให้
มาทำ
�ให้
ยาเสื่
อม หรื
อใช้
เฉลวปั
กไว้
ตามที่
ต่
างๆ เพื่
อป้
องกั
นผี
และสิ่
งชั่
วร้
ายไม่
ให้
เข้
ามาในบริ
เวณนั้
น เช่
นเดี
ยวกั
บชาวบ้
านในภาคเหนื
อมั
กทำ
�เฉลวแขวนไว้
เหนื
อประตู
บ้
าน หากมี
การนำ
�ศพผ่
านบ้
านเรื
อนของตน เพราะเชื่
อว่
าเฉลวจะช่
วยป้
องกั
นผี
ไม่
ให้
เข้
าไปในบ้
านเรื
อนของตน
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
เป็
นงานหั
ตถกรรมที
มี
มู
ลค่
าหรื
อราคาไม่
สู
ง เพราะเป็
นงานหั
ตถกรรมที่
ทำ
�จากวั
ตถุ
ดิ
บที่
หา
ได้
ไม่
ยาก ราคาไม่
แพง และมี
กรรมวิ
ธี
การผลิ
ตพื้
นๆ ที่
สานด้
วยมื
อเป็
นหลั
ก ไม่
มี
ขั้
นตอนและกรรมวิ
ธี
ที่
ยุ่
งยากซั
บซ้
อน
เหมื
อนงานหั
ตถกรรมประเภทอื่
น แต่
สิ่
งเหล่
านี้
กลั
บทำ
�ให้
งานจั
กสานเป็
นงานหั
ตถกรรมที่
มี
คุ
ณค่
าทางจิ
ตใจเพราะที่
สร้
างขึ้
นอย่
างตรงไปตรงมา “จากสมองไปสู่
มื
อ” ไม่
ใช่
งานที่
ผลิ
ตด้
วยเครื่
องจั
กเป็
นจำ
�นวนมาก งานจั
กสานสะท้
อนให้
เห็
นความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ด ความสามารถ และรสนิ
ยมความงามของช่
างอย่
างซื่
อตรงที่
สุ
ด ดั
งนั้
น คุ
ณค่
าของเครื่
องจั
กสานจึ
ไม่
ได้
อยู่
ที่
มู
ลค่
าของวั
ตถุ
ดิ
บ แต่
มี
คุ
ณค่
าทาง “ปั
ญญา” ของช่
างที่
สร้
างเครื่
องจั
กสานได้
อย่
างเหมาะสมกั
บการใช้
สอย
และวั
ฒนธรรมไทย
เครื
องจั
กสานไม้
ไผ่
ได้
รั
บการขึ
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๔