Page 40 - dcp3

Basic HTML Version

29
ผ้
ามั
ดหมี่
เรี
ยบเรี
ยงโดย กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม
ผ้
ามั
ดหมี่
คื
อ ผ้
าที่
ทอจากด้
ายหรื
อไหมที่
ผู
กมั
ดแล้
วย้
อมโดย
การคิ
ดผู
กให้
เป็
นลวดลาย แล้
วนำ
�ไปย้
อมสี
ก่
อนทอ เป็
นศิ
ลปะ
การทอผ้
าพื้
นเมื
องชนิ
ดหนึ่
งที่
นิ
ยมทำ
�กั
นมานานแล้
ว โดยเฉพาะ
อย่
างยิ่
งในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อของประเทศไทย ในภาคกลาง
บางจั
งหวั
ด อาทิ
จั
งหวั
ดชั
ยนาท จั
งหวั
ดอุ
ทั
ยธานี
จั
งหวั
ดสุ
พรรณบุ
รี
จั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
จั
งหวั
ดลพบุ
รี
ภาคเหนื
อมี
การทอ ที่
จั
งหวั
เชี
ยงใหม่
และจั
งหวั
ดน่
าน เป็
นต้
กระบวนการทำ
�ผ้
ามั
ดหมี่
นั้
น ในขั้
นตอนการสร้
างลวดลาย จะต้
องนำ
�เส้
นใยฝ้
ายหรื
อเส้
นใยไหมไปค้
นลำ
�หมี่
ให้
ได้
ตามจำ
�นวน ที่
เหมาะสมกั
บลวดลาย แล้
วจึ
งนำ
�ไปขึ
งเข้
ากั
บ “โฮงหมี่
” โดยจะใช้
เชื
อกมั
ดส่
วนที
ไม่
ต้
องการให้
ติ
ดสี
เรี
ยกว่
าการ “โอบ” ในอดี
ตใช้
เชื
อกกล้
วย ต่
อมานิ
ยมใช้
เชื
อกฟางพลาสติ
ก การมั
ด จะต้
องมั
ดให้
แน่
นตาม
ลวดลายที่
กำ
�หนดไว้
แล้
วนำ
�ไปย้
อมสี
จากนั้
นตากแดดให้
แห้
ง เมื่
อนำ
�มาแก้
เชื
อกออกจะเห็
นส่
วนที่
มั
ด ไว้
ไม่
ติ
ดสี
ที
ย้
อม
หากต้
องการให้
ลวดลายมี
หลายสี
จะต้
องมั
ดโอบ อี
กหลายครั้
งตามความต้
องการ ตำ
�แหน่
งที่
มั
ดให้
เกิ
ดลวดลายนั้
จะต้
องอาศั
ยทั
กษะเชิ
งช่
างที่
ชำ
�นาญและแม่
นยำ
� เพราะช่
าง มั
ดหมี่
ของประเทศไทยไม่
ได้
มี
การขี
ดตำ
�แหน่
งลวดลาย
ไว้
ก่
อน แบบประเทศอื่
นๆ ตำ
�แหน่
งการมั
ดลวดลาย จึ
งอาศั
ยการจดจำ
� และสั่
งสมจากประสบการณ์
ในกระบวนการ
ทอ ช่
างทอผ้
า มั
ดหมี่
จะต้
องระมั
ดระวั
งทอผ้
าตามลำ
�ดั
บของหลอดด้
ายมั
ดหมี่
ที่
ร้
อยเรี
ยงลำ
�ดั
บไว้
ให้
ถู
กต้
อง และจะ
ต้
องใช้
ความสามารถในการปรั
บจั
ดลวดลายที่
เหลื่
อมลํ้
ากั
นที่
เกิ
ดจากกระบวนการย้
อมสี
ให้
ออกมาสวยงาม กลวิ
ธี
การ
ทอผ้
ามั
ดหมี่
จึ
งเป็
นภู
มิ
ปั
ญญาด้
านงาน ช่
างฝี
มื
อดั้
งเดิ
มที่
ต้
องอาศั
ยทั
กษะเชิ
งช่
างชั้
นสู
ลวดลายมั
ดหมี่
ที่
มี
การสื
บทอดต่
อกั
นมาตั้
งแต่
โบราณนั้
น ส่
วนใหญ่
ได้
แรงบั
นดาลใจจากธรรมชาติ
สิ่
งแวดล้
อมใน
วิ
ถี
ชี
วิ
ต ความเชื่
อและขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
อาทิ
ลายดอกแก้
ว ลายต้
นสน ลายโคมห้
า ลายโคมเจ็
ด ลายบายศรี
ลายกวาง ลายนกยู
ง ลายเต่
า ลายพญานาค ฯลฯ
ผ้
ามั
ดหมี่
มี
บทบาทในวิ
ถี
ชี
วิ
ตตั้
งแต่
เกิ
ดจนตาย หญิ
งสาว ต้
องทอผ้
าเพื่
อทำ
�เป็
นเครื่
องนุ่
งห่
ม วั
สดุ
เส้
นใยทั้
งฝ้
าย
และไหมบ่
งบอกถึ
งศั
กยภาพทางการค้
า เพราะเป็
นวั
สดุ
ที่
ใช้
แลกเปลี่
ยนซื
อขายมาแต่
โบราณ ส่
วนวั
สดุ
ย้
อมสี
ธรรมชาติ
สะท้
อนให้
เห็
นถึ
งความอุ
ดมสมบู
รณ์
ของพั
นธุ์
พื
ชในประเทศไทย ที่
มี
ความหลากหลาย ซึ่
งช่
วยให้
ผ้
ามั
ดหมี่
ของไทยมี
สี
สั
น เฉพาะตั
ว และยั
งสะท้
อนไปถึ
งความเช่ี
ยวชาญของแต่
ละ กลุ่
มชนในการย้
อมสี
ธรรมชาติ
ปั
จจุ
บั
น การถ่
ายทอดความรู
ด้
านการผลิ
ตผ้
ามั
ดหมี่
ยั
งคงมี
อยู่
บ้
างตามชนบท แต่
เยาวชนรุ่
นใหม่
ที่
ตั้
งใจสื
บทอด
การทอผ้
ามี
จำ
�นวนลดลง และหลายชุ
มชนก็
ไม่
สามารถ สื
บทอดภู
มิ
ปั
ญญาการทอผ้
ามั
ดหมี่
ไว้
ได้
จึ
งจำ
�เป็
นที่
หน่
วยงาน
ที่
เกี่
ยวข้
องได้
ร่
วมกั
นอนุ
รั
กษ์
และสื
บสานให้
มรดกภู
มิ
ปั
ญญา ทางวั
ฒนธรรมแขนงนี้
คงอยู่
สื
บไป
ผ้
ามั
ดหมี่
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๓