Page 145 - dcp3

Basic HTML Version

134
สั
ตตภั
ณฑ์
ล้
านนา
เรี
ยบเรี
ยงโดย ประที
บ พื
ชทองหลาง
สั
ตตภั
ณฑ์
ในบริ
บททางวั
ฒนธรรมล้
านนา หมายถึ
ง เชิ
งเที
ยนมี
ที่
สำ
�หรั
ปั
กเที
ยนอยู่
เจ็
ดที่
ตั้
งอยู่
บริ
เวณหน้
าพระประธานในวิ
หารหรื
อโบสถ์
ชาวล้
านนา
สร้
างสั
ตตภั
ณฑ์
ขึ้
นเพื่
อถวายเป็
นพุ
ทธบู
ชาให้
แก่
วั
ด โดยมี
แนวคิ
ดและความเชื่
ที่
สำ
�คั
ญ ๒ ประการ คื
อ ๑) แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บจั
กรวาลวิ
ทยา สั
ตตภั
ณฑ์
สร้
าง
ขึ้
นโดยแฝงด้
วยสั
ญลั
กษณ์
ที่
สะท้
อนให้
เห็
นถึ
งความสั
มพั
นธ์
ใกล้
ชิ
ดระหว่
าง
จั
กรวาลกั
บโลก โดยจำ
�ลองสั
ณฐานของจั
กรวาลในแนวตั้
ง ซึ่
งมี
ระเบี
ยบเช่
เดี
ยวกั
บภาพจิ
ตรกรรมเขาพระสุ
เมรุ
ซึ่
งทางล้
านนาเรี
ยกว่
า สิ
เนรุ
ที่
ล้
อมรอบ
ด้
วยเขาบริ
วารทั้
ง ๗ เป็
นวงกลมลดหลั่
นกั
นลงมา ประกอบด้
วย ยุ
คั
นธร
อิ
สิ
นธร กรวิ
ก สุ
ทั
สนะ เนมิ
นธร วิ
นั
นตกะ และอั
สสกั
ณณ์
๒) แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
พระพุ
ทธศาสนา สั
ตตภั
ณฑ์
สร้
างขึ้
นโดยสอดแทรกหลั
กธรรมหรื
อหลั
กปฏิ
บั
ติ
ทางพุ
ทธศาสนาที่
เกี่
ยวข้
องกั
บเลข ๗ ได้
แก่
หลั
กโพชฌงค์
๗ สั
ทธั
มมะ ๗
สั
ปปุ
ริ
สธั
มมะ ๗ เป็
นต้
น เพื่
อให้
ชาวพุ
ทธล้
านนานำ
�ไปเป็
นแนวปฏิ
บั
ติ
ในชี
วิ
สั
ตตภั
ณฑ์
จึ
งเป็
นการช่
างที่
สอดประสานกั
นระหว่
างภู
มิ
ปั
ญญาด้
านงานช่
างกั
บความเชื่
อและศรั
ทธาในพุ
ทธศาสนา
สั
ตตภั
ณฑ์
ที่
ค้
นพบในปั
จจุ
บั
นมี
อยู่
ทั้
งหมด ๓ รู
ปแบบ ได้
แก่
๑) สั
ตตภั
ณฑ์
รู
ปสามเหลี่
ยม มี
หลายขนาด
ส่
วนมากจะมี
ขนาดค่
อนข้
างใหญ่
มี
ยอดเสา ๗ เสาสู
งลดหลั่
นกั
นลงมา ทำ
�ด้
วยไม้
แกะสลั
กเป็
นลวดลายต่
างๆ อย่
าง
หนาแน่
นเต็
มพื้
นที่
ส่
วนใหญ่
เป็
นลวดลายพรรณพฤกษา ส่
วนกรอบด้
านนอกนิ
ยมทำ
�เป็
นลวดลายนาคทอดตั
วยาวลงมา
ตกแต่
งด้
วยการเขี
ยนสี
หรื
อประดั
บกระจก สั
ตตภั
ณฑ์
ในรู
ปแบบนี้
เป็
นเอกลั
กษณ์
และลั
กษณะเด่
นของจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
๒) สั
ตตภั
ณฑ์
รู
ปวงโค้
ง (รู
ปครึ่
งวงกลม) มี
ลั
กษณะคล้
ายสั
ตตภั
ณฑ์
รู
ปสามเหลี่
ยม แต่
จะเป็
นวงโค้
งคล้
ายกั
บหั
วเตี
ยง
ซึ่
งเป็
นรู
ปครึ่
งวงกลม มี
ยอดเสา ๗ ยอดอยู่
ในกรอบด้
านข้
างไม่
นิ
ยมประดั
บลวดลายนาค แต่
นิ
ยมบรรจุ
ลวดลายนาค
ไว้
ภายใน เป็
นลั
กษณะนาคเกี้
ยวหรื
อนาคขนดพั
นกั
นแน่
น สั
ตตภั
ณฑ์
ในรู
ปแบบนี้
พบมากในจั
งหวั
ดลำ
�พู
นและลำ
�ปาง
๓) สั
ตตภั
ณฑ์
แบบขั้
นบั
นได หรื
อเรี
ยกว่
า บั
นไดแก้
ว มี
ขนาดกว้
างประมาณหนึ่
งเมตรและมี
เสา ๗ เสาประดั
บอยู่
ริ
บั
นไดทั้
งสองข้
างๆ ละ ๓ เสา และที่
กลางบั
นไดด้
านหลั
งอี
กหนึ่
งเสา ไม่
มี
การแกะสลั
กมากนั
ก แต่
จะตกแต่
งด้
วยการ
ปิ
ดทองหรื
อทาสี
โดยใช้
กระดาษฉลุ
สั
ตตภั
ณฑ์
รู
ปแบบนี้
เป็
นงานศิ
ลปกรรมของช่
างฝี
มื
อของชาวไทลื้
อในจั
งหวั
ดแพร่
และน่
าน ปั
จจุ
บั
นพบได้
ในวั
ดของชาวไทลื้
อ แต่
มี
จำ
�นวนไม่
มากนั
ก คงเหลื
อแต่
ที่
เป็
นของเก่
าเท่
านั้
สั
ตตภั
ณฑ์
ล้
านนาเป็
นงานช่
างผี
มื
อดั้
งเดิ
มที่
งดงาม สร้
างขึ้
นเพื่
อมุ่
งหมายเป็
นไทยธรรมที่
ประณี
ตถวายไว้
ใน
พระพุ
ทธศาสนา ซึ่
งควรค่
าแก่
การฟื้
นฟู
อนุ
รั
กษ์
และสื
บสานทั้
งเรื่
องความเชื่
อ และฝี
มื
อเชิ
งช่
างให้
คงอยู่
ต่
อไป
สั
ตตภั
ณฑ์
ล้
านนา ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๕