Page 53 - dcp2

Basic HTML Version

42
ยาหอม เป็
นภู
มิ
ปั
ญญาของแพทย์
แผนไทยที่
รู้
จั
กนำ
�สมุ
นไพรที่
มี
กลิ่
นหอมหลากหลายชนิ
ดมาปรุ
งเป็
นยารั
กษาโรคลม
ยาหอมมี
หลายตำ
�รั
บและใช้
รั
กษากลุ่
มอาการผิ
ดปกติ
ของร่
างกายได้
ถึ
ง ๙๐ อาการ สามารถใช้
บรรเทาอาการเป็
นลม
วิ
งเวี
ยนศี
รษะ หน้
ามื
ด ใจสั่
น ท้
องอื
ด ท้
องเฟ้
อ บรรเทาอาการคลื่
นไส้
อาเจี
ยนหรื
อนอนไม่
หลั
บ ฯลฯ
การปรุ
งยาหอมตามแบบฉบั
บแพทย์
แผนไทย ประกอบด้
วยสมุ
นไพรหลายชนิ
ด ดั
งนี้
๑) ยาพื้
นฐานเป็
นสมุ
นไพรที่
มี
กลิ่
นหอม ส่
วนใหญ่
มี
รสขม ใช้
ปรั
บสมดุ
ลย์
ความร้
อนในร่
างกาย เช่
น เกสรทั้
ง ๕ โกศ
ทั้
ง ๕ เที
ยนทั้
ง ๕ อบเชย ขอนดอกกระลำ
�พั
ก กฤษณา ชะลู
๒) สมุ
นไพรเพิ่
มการทำ
�งานของธาตุ
ทั้
ง ๔ ให้
สมดุ
ล เช่
น พิ
กั
ดเบญจกู
ล พิ
กั
ดตรี
ผลา พิ
กั
ดตรี
กฏก พิ
กั
ดตรี
สาร
๓) สมุ
นไพรที่
ใช้
เพื่
อจุ
ดประสงค์
เฉพาะอาการ เช่
น พิ
กั
ดเกสรที่
ได้
จากดอกไม้
ชนิ
ดต่
างๆ หรื
อ สมุ
นไพรรสขม เป็
นต้
จากหลั
กฐานทางประวั
ติ
ศาสตร์
หมอยาไทยในราชสำ
�นั
กรู้
จั
กใช้
ยาหอมมาตั้
งแต่
สมั
ยกรุ
งศรี
อยุ
ธยาดั
งปรากฏอยู่
ในตำ
�รายาที่
มี
ชื่
อว่
“ตำ
�ราพระโอสถ สมเด็
จพระนารายณ์
ยาหอมจึ
งเป็
นของทำ
�ยากและมี
ราคาแพง ในสมั
ยพระบาท
สมเด็
จพระจุ
ลจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว ทรงมี
พระราชประสงค์
ให้
ราษฏรได้
เข้
าถึ
งยาคุ
ณภาพดี
จึ
งทรงกระจายยาไปตามหั
วเมื
อง
ต่
างๆ ยาหอมจึ
งเป็
นหนึ่
งใน
ยาตำ
�ราหลวงชุ
ด “ยาโอสถสภา”
ที่
ทรงพระกรุ
ณาโปรดเกล้
าฯให้
เผยแพร่
แก่
ราษฎร
ปั
จจุ
บั
นยาหอมเทพจิ
ตร ยาหอมทิ
พโอสถ ยาหอมนวโกฐ ยาหอมอิ
นทจั
กร์
เป็
นยาหอมที่
จั
ดอยู่
ในตำ
�รั
บยาสามั
ประจำ
�บ้
าน พ.ศ. ๒๕๔๒ สำ
�หรั
บรั
กษาอาการทางระบบไหลเวี
ยนโลหิ
ตและอยู่
ในบั
ญชี
ยาหลั
กแห่
งชาติ
หมวดบั
ญชี
ยาจาก
สมุ
นไพร พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่
งมี
การกำ
�หนดสู
ตร ส่
วนประกอบ วิ
ธี
ทำ
� สรรพคุ
ณ ขนาดรั
บประทานและขนาดบรรจุ
ได้
รั
บการ
รั
บรองจากคณะกรรมการอาหารและยา
วิ
ธี
การกิ
นยาหอมแบบดั้
งเดิ
ม ต้
องนำ
�มาละลายนํ้
ากระสายยาและดื่
มขณะที่
ยั
งอุ่
นเพราะจะช่
วยให้
ยาออกฤทธิ์
ผ่
าน
ประสาทรั
บกลิ่
นและดู
ดซึ
มผ่
านกะเพาะอาหารเร็
วขึ้
น ปั
จจุ
บั
นรู
ปแบบของยาหอมมี
หลาย
แบบมากขึ้
น ทั้
งแบบเคี้
ยว แบบอม และแบบกิ
น ทั้
งเม็
ดและดื่
มนํ้
าตาม อย่
างไรก็
ตามพบ
ว่
าวิ
ธี
การกิ
นยาหอมแบบเดิ
มได้
ประสิ
ทธิ
ผลมากที่
สุ
ปั
จจุ
บั
นคนไทยก็
ยั
งนิ
ยมใช้
ยาหอมอยู่
ในวิ
ถี
ชี
วิ
ตประจำ
�วั
นโดยเฉพาะในกลุ่
ผู้
สู
งอายุ
ยั
งต้
องมี
ยายาหอมติ
ดตั
วไว้
ตลอดเวลา
ยาหอม ได้
รั
บการขึ
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๕
ยาหอม
ภาพ : ตั
วอย่
างยาหอมวั
ดโพธิ์
ที่
มา : http://www.greenworld-market.com/images/content/original-1339918720119.png