Page 40 - dcp2

Basic HTML Version

29
เมี่
ยงคำ
� เป็
นอาหารว่
างหรื
อของกิ
นเล่
นของคนไทยภาคกลางประกอบด้
วย เครื่
องเมี่
ยง นํ้
าเมี่
ยง และผั
กที่
ใช้
ห่
เป็
นอาหารว่
างที่
มี
คุ
ณค่
าทางโภชนาการสู
ง เพราะมี
ธาตุ
อาหารครบ ๕ หมู่
อยู่
ในคำ
�เดี
ยวกั
ไม่
มี
การบั
นทึ
กประวั
ติ
ความเป็
นมา แต่
พิ
จารณาจากลั
กษณะของอาหารที่
ใช้
ทรั
พยากรหลายอย่
างจากสวน
จึ
งสั
นนิ
ษฐานว่
าน่
าจะเป็
นอาหารของชาวสวนแต่
เดิ
ม และอาจดั
ดแปลงมาจาก
“เมี่
ยง”
ของชาวภาคเหนื
อ โดยเปลี่
ยน
ใบเมี่
ยงที่
ใช้
ห่
อมาเป็
นพื
ชผั
กในสวนภาคกลางแทน มี
อาหารของชาวภาคกลางหลายชนิ
ดที่
ใช้
ใบไม้
ห่
อแล้
วเรี
ยกว่
“เมี่
ยง”
ดั
งปรากฏในบทเห่
ชมเครื่
องว่
าง พระราชนิ
พนธ์
ในพระบาทสมเด็
จพระมงกุ
ฎเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว รั
ชกาลที่
๖ ว่
“เมี่
ยงคำ
�นํ้
าลายสอ
เมี่
ยงสมอเมี่
ยงปลาทู
ข้
าวคลุ
กคลุ
กไก่
หมู
นํ้
าพริ
กคั่
วทั่
วโอชา”
เมี่
ยงคำ
�ประกอบด้
วยส่
วนประกอบ ๓ ส่
วนคื
อเครื่
องเมี่
ยง นํ้
าเมี่
ยงและผั
กที่
ใช้
ห่
อ เครื่
องเมี่
ยง ประกอบด้
วย มะพร้
าวคั่
กุ้
งแห้
ง ขิ
ง ถั่
วลิ
สงคั่
วหอมแดง มะนาว ตะไคร้
และพริ
กขี้
หนู
นํ้
าเมี่
ยงประกอบด้
วยนํ้
าตาลปิ๊
บ นํ้
าปลาดี
กะปิ
กุ้
งแห้
งป่
ส่
วนผั
กที่
ใช้
ห่
อนิ
ยมใบชะพลู
และใบทองหลางที่
ไม่
อ่
อนไม่
แก่
จนเกิ
นไป
วิ
ธี
ปรุ
งเครื่
องเมี่
ยง เริ่
มด้
วยการหั่
นมะพร้
าวที่
ไม่
แก่
จั
ดจนเกิ
นไปชิ้
นบางๆแล้
วคั่
วด้
วยไฟอ่
อนๆ หั่
นหอมแดง ขิ
ง มะนาว
เป็
นรู
ปสี่
เหลี่
ยมลู
กเต๋
าซอยพริ
กขี้
หนู
ชิ้
นบางๆ ส่
วนวิ
ธี
ปรุ
งนํ้
าเมี่
ยงซึ่
งเป็
นหั
วใจของอาหารชนิ
ดนี้
นั้
น ต้
องโขลก ข่
า ตะไคร้
และหั
วหอมให้
ละเอี
ยด ใส่
กะปิ
โขลกให้
เข้
ากั
นแล้
วใส่
นํ้
าตาลปิ๊
บ นํ้
าปลา กะปิ
เคี่
ยวพอเหนี
ยว ใส่
กุ้
งแห้
ง มะพร้
าวคั่
วคน
ให้
ทั่
วแล้
วยกลง
เมื่
อจะกิ
นนำ
�เครื่
องเมี่
ยงใส่
ลงในใบชะพลู
หรื
อใบทองหลางที่
ล้
างสะอาดแล้
ว ตั
กนํ้
าเมี
ยงหยอดลงไปแล้
วห่
อเป็
นคำ
�ๆ
กิ
นเป็
นอาหารว่
างที่
มี
ครบทุ
กรสอยู่
ในคำ
�เดี
ยวกั
น คื
อ หวาน มั
น เค็
ม เปรี้
ยวและเผ็
เมี่
ยงคำ
เรี
ยบเรี
ยงโดย ศาสตราจารย์
สุ
กั
ญญา สุ
จฉายา และ สง่
า ดามาพงษ์