Previous Page  60 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 60 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๔๖

พระภรตฤๅษี

กอนทําการแสดงทุกครั้งจะมีการทําพิธีไหวครูบาอาจารยโดยมีพระภรตษีเปนตัวแทนของครู ซึ่งศิลปนทุกคน

ตองทําพิธีไหวครูกอนทําการแสดง โดยจะมีการ ตั้งกํานล ประกอบดวย ดอกไมธูปเทียน เหลาขาว บุหรี่ หมากพลู และ

เงิน ๑๒ บาท

ลิเก คืออะไร

ลิเก คือ การแสดงที่วาดวยการใชบทบาทในการแสดง ประกอบการรอง การรํา การพูด โดยมีเครื่องดนตรี ปพาทย

ประกอบการแสดงเพื่อความสนุกสนาน รวดเร็ว มีตลกขบขัน เพลงที่ใชดําเนินเรื่องเรียกวา ราชนิเกลิง เนื้อเรื่องมักเนน

ความ สนุกสนาน เขาถึงอารมณของผูชมดวยบทบาทการแสดง จูงใจดวย เครื่องแตงกายที่สวยงามเปนเอกลักษณเฉพาะ

ของลิเก

ที่มาของลิเก

ลิเก เปนคําที่มีรากศัพทมาจากภาษา ฮิบรู วา ซาคูร (Zakhur) ซึ่งหมายถึง การสวดสรรเสริญพระเจา

ในศาสนา ยูดาย หรือยิวมาแตโบราณหลายพันป ตอมาชาวอาหรับเรียกการสวดสรรเสริญพระเจาวา ซิกร (Zikr) และ

ซิกิร (Zikir) ผูสวด นั่งลอมเปนวงโยกตัวไปมา เมื่อการสวดแพรหลายเขาไปในอินเดีย โดยชาวอิหราน เรียกวา ดฮิกิร

(Dhikir) โดยมีการ ตีกลอง รํามะนาประกอบ ครั้นการสวดแพรมาถึงจังหวัดทางภาคใตของประเทศไทย ก็เรียกเปนภาษาถิ่นวา

ดิเก (Dikay) และจิเก (Jikay) ชาวมุสลิมนําดิเกเขามาสู กรุงเทพมหานคร ตอนตนสมัยรัตนโกสินทร การเรียกก็เปลี่ยนเปน

ยิเก หรือ ยี่เก (Yikay) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ทรงเรียกวา ลิเก (Likay) เมื่อปพุทธศักราช ๒๔๕๒

และใชเรียก อยางเปนทางการตั้งแตนั้นมา สวนคําวา ยี่เก ยังคงใชเรียกกันอยู อนึ่ง ลิเกไดถูกเปลี่ยนชื่อตามพระราช

กฤษฎีกากําหนดวัฒนธรรม ทางศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๘๕ เปน นาฏดนตรี และเรียกคํานี้แทนลิเกอยูประมาณ ๑๕ ป

ก็กลับมาเรียกวา ลิเก เหมือนเดิมจนถึงปจจุบัน

ยุคสมัยของลิเก

ลิเกสวดแขก

คือ ยุคที่ชาวไทยมุสลิมเดินทางจากภาคใตเขามาตั้งถิ่นฐานในกรุงเทพมหานครในสมัยรัชกาลที่ ๓ แลวไดนําการสวด

สรรเสริญพระเจาประกอบการดีรํามะนา (กลองหนาเดียวตีประกอบลําตัดในปจจุบัน) เขามาดวย ตอมาในสมัยรัชกาล

ที่ ๕ ลูกหลานชาวไทยมุสลิม ก็ใชภาษาไทยแทนภาษามลายู สําหรับการแสดงลิเกสวดแขกนั้น ผูแสดงชายนั่งลอม

เปน วงกลม มีคน ตีรํามะนาเสียงทุมและแหลม ๔ ใบ หรือ ๑ สํารับ การแสดงเริ่มดวยการสวดสรรเสริญพระเจา

เปนภาษามลายู จากนั้นก็รองเพลงดนกลอนภาษามลายูตอนใต เรียกกันวา ปนตุน หรือ ลิเกบันตน ตอมาแปลงจาก

ภาษามลายูเปนภาษาไทย การแสดงบางครั้งมีการประขันวงรองตอบโตกัน จนกลายมาเปนลําตัดในปจจุบัน