Previous Page  47 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 47 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๓๓

๒. ขึ้นหนังสองหนา

๒.๑ กลองปูชา

( อาน “กองปู”) คือ กลองบูชา เดิมเรียกวากลองนันทเภรี เปนกลองขึ้นสองหนาขนาดใหญตั้งอยู

กับที่ แตใชตีหนาเดียว มีหนากวางประมาณ ๓๐ นิ้วขึ้นไป ปกติจะตั้งไวที่ศาลาไวกลอง หรือ ตั้งไวภายในวัด ประกอบดวย

กลองขนาดใหญ ๑ ใบ ซึ่งมีขนาดหนากลองเสนผาศูนยกลางประมาณ ๑ เมตร ความยาวของตัวกลอง ประมาณ ๑.๕ เมตร

และกลองขนาดเล็ก เรียกวา “กลองแสะ” หรือ“ลูกตุบ”อีก ๒ - ๓ ใบ ซึ่งมีขนาดลดหลั่นกัน กลองปูชาใชตีเปนพุทธบูชา

ในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา เชน วันขึ้นหรือแรม ๗ คํ่า และ ๑๔ คํ่า ระหวางเขาพรรษา เปนตน บางแหงใชตีเปนสัญญาณ

บอกเวลาดวย เวลาตีกลองปูชา จะใชผูตี ๒ คน คนหนึ่งใชไมคอนตี ๒ มือ ตีทั้งกลองใหญและกลองเล็ก เปนทํานองตาง ๆ

อีกคนหนึ่งใชไมแสะ (ไมไผผาซีกจักปลาย) ตีขัดจังหวะกลองยืนทํานองไปตลอด นอกจากนี้หากเปนการตีประกวดกัน

ก็ยังมีคนตีฆอง โหมง และฉาบ ประกอบดวย

๑.๒ กลองสะบัดชัย เปนกลองที่ดัดแปลงจากกลองปูชา (บูชา) ที่มีขนาดเล็กกวา เพื่อใชหามนําหนาขบวนแหได ใชตี

เพื่อความเปนสิริมงคลในงานมงคลตาง ๆ (ยกเวนงานอวมงคล) โดยเฉพาะนําขบวนครัวทาน กลองมีขนาด

เสนผาศูนยกลางประมาณ ๑ เมตร ดานขางหนาประมาณ ๓๐ เซนติเมตร และมีกลองเล็กที่ใชตีประกอบอีก ๓ ใบ เรียกวา

“ลูกตุบ” โดยผูที่ตีจะเปนคนเดียวกันกับที่ตีกลองสะบัดชัย ตอมา ครูคํา กาไวย แหงโรงเรียนนาฏศิลปเชียงใหมไดนําเอา

กลองรุกรัง แทนกลองสะบัดชัยแบบดั้งเดิม กลองสะบัดชัยโบราณ เปนกลองที่มีมานานแลวนับหลายศตวรรษ

ในสมัยกอนใชตียามออกศึกสงคราม เพื่อเปนสิริมงคลและเปนขวัญกําลังใจใหแกเหลาทหารหาญในการตอสูใหไดชัยชนะทํานอง

ที่ใชในการตีกลองสะบัดชัยโบราณมี ๓ ทํานอง คือ ชัยเภรี, ชัยดิถี และชนะมาร การตีกลองสะบัดชัยเปนศิลปะการแสดง

พื้นบานลานนาอยางหนึ่ง ซึ่งมักจะพบเห็นในขบวนแหหรืองานแสดงศิลปะพื้นบาน ในระยะหลังโดยทั่วไปลีลาในการตี

มีลักษณะโลดโผน เราใจ มีการใชอวัยวะหรือสวนตาง ๆ ของรางกาย เชนศอก เขา ศีรษะ ประกอบในการตีดวย ทําให

การแสดงการตีกลองสะบัดชัยเปนที่ประทับใจของผูที่ไดชม จนเปนที่นิยมกันอยางกวางขวางในปจจุบัน บทบาทและหนาที่

เดิมของกลองสะบัดชัยในสมัยกอนใชตีตอนออกรบ นอกจากการกลองสะบัดชัยยังมีหนาที่ตีเพื่อความรื่นเริงในงานตาง ๆ

สําหรับกษัตริยหรือเจาเมือง ตอมานํามาตีใหชาวบานรับรูพิธีของศาสนาในงานบุญตาง ๆ จังหวะในการตีแบบเดิมที่ตีอยู

กับที่ในหอกลองของวัดมีลักษณะตาง ๆ กันตามโอกาสดังนี้

• ตีเรียกคน เชน มีงานประชุมหรืองานของสวนรวมที่ตองชวยกันทํา ลักษณะนี้จะตีเฉพาะกลองใหญ

โดยเริ่มจังหวะชา และเรงเร็วขึ้น

• ตีบอกเหตุฉุกเฉิน เชน ไฟไหม ไลขโมย จะตีเฉพาะกลองใหญ และมีจังหวะเรงเร็วติด ๆ กัน

• ตีบอกวันพระ วันโกน ลักษณะนี้จะตีทั้งกลองใหญและลูกตุบ(กลองใบเล็ก) มีฉาบและฆองประกอบจังหวะดวย

จังหวะหรือทํานองในการตีที่เรียกวา “ระบํา” มี ๓ ทํานอง คือ

๑. ปูชา ( ออกเสียง-ปูจา) มีจังหวะชา ใชฆองโหมงและฆองหุยประกอบ

๒. สะบัดชัย มีจังหวะปานกลาง ใชฆองโหมง ฆองหุย และฆองเล็กประกอบ

๓. ลองนานมีจังหวะเร็วใชฆองเล็กประกอบ

๒.๓ กลองมองเซิง คือ กลองที่ขึงดวยหนังทั้งสองหนามีสายโยงเรงเสียง รูปรางคลายตะโพนมอญ ไมมีขาตั้ง

แตมีสายรอยสําหรับคลองคอเวลาตี เฉพาะคําวา “มองเซิง” เปนภาษาไทใหญโดยที่ คําวา “มอง” แปลวา “ฆอง” สวน

“เซิง” แปลวา “ชุด” กลองมองเซิง จึงหมายถึง กลองที่ใชฆองเปนชุดเพราะวงกลองมองเซิงจะเนนเสียงฆองเปนหลักใหญ

ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลางประมาณ ๔๕ - ๖๐ เซนติเมตร ดานขางยาวประมาณ ๗๕ - ๙๐ เซนติเมตร การประสม

วงกลองมองเซิง ใชกลองมองเซิง ๑ ลูก ฉาบขนาดใหญ ๑ คู ฆองขนาดใหญและเล็กลดหลั่นลงไปประมาณ ๕- ๙ ใบ

ขณะบรรเลงกลองมองเซิงจะตีรับกับฉาบ โดยลักษณะอาการ ลอทางเสียง แบบหลอกลอกันไป ในขณะที่มีเสียงฆองเปนตัว

กํากับจังหวะ ซึ่งมีบางแหงเพิ่มฉิ่งตีกํากับจังหวะไปพรอม ๆ กับฆองดวย