Previous Page  163 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 163 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๑๔๙

อนึ่ง คําวา วายังกูเละ ในประเทศอินโดนีเซีย จะหมายถึง การแสดงที่ใชตัวแสดงเปนหุนกระบอก (หุนไมตัวกลม)

แตถาใชตัวแสดงเปนหนังสัตวแบน ๆ อยางใน ๓ จังหวัดภาคใตของไทย ในประเทศอินโดนีเซียจะเรียกวา “วายังปูรวา”

ความแตกตางของหนังตะลุงปกษใตในปจจุบัน

หนังตะลุง แบงออกตามหลักวิทยาศาสตรและปรัชญา ไดดังนี้

๑. คลื่นเสียงดนตรี

๑.๑ หนังตะลุงแบบทั่วไป จะมีคลื่นเสียงดนตรีพื้นบาน คือ คลื่นเสียงโหมง กรับ ฉิ่ง ทับ กลอง ป ซอดวง ซออู

ผสมผสานกับคลื่นเสียงดนตรีสากล เชน ออรแกนไฟฟา กีตารไฟฟา เบส กลอง (ชุด) ทอมบา (ลุมบา) ฯลฯ ในจังหวะลีลา

ทํานองเพลงพื้นบานดั้งเดิมบาง เพลงไทยสากลบาง และอาจจะมีเพลงจากนานาชาติรวมอยูดวย (อาทิ เพลงเกาหลี (อาลีดัง)

เพลงลาว (ไทยดํารําพัน ฯลฯ) เพลงจีน เพลงฝรั่ง เพลงแขก เพลงพมา เพลงเขมร)

๑.๒ หนังตะลุงแบบดั้งเดิม จะมีเฉพาะคลื่นเสียงดนตรีพื้นบาน คือคลื่นเสียงโหมง (ฟาก) ฉิ่ง ทับ กลอง ป ซอดวง

ในจังหวะลีลาทํานองเพลงดั้งเดิม (ปจจุบัน) บางคณะไดมีการนําดนตรีสากลบางชนิด และเพลงไทยสากล เขาไปผสมผสานดวย)

๑.๓ หนังตะลุงแบบวายังกูเละ จะมีคลื่นเสียงดนตรีจากเครื่องดนตรี ซูนา (ปชวา) กือตาเวาะ (ฆองคู)

ไมเคาะจังหวะ อาเนาะอาแย (ฉิ่งเล็ก แบแบ (ฉาบใหญ) ฆือตุ (กลองสองหนา) ฆือดอเมาะ (ทับ) บูเวาะโตงเตง (โหมง)

ฆือแน (กลองแขก) (ปจจุบันบางคณะไดมีการนําดนตรีสากลบางชนิด เพลงไทยสากล เขาไปผสมผสานดวย)

๒. คลื่นเสียงคน

๒.๑ หนังตะลุงแบบทั่วไป

๑) มีคลื่นเสียงคนขับขานหรือขับรองบทกลอน ดวยจังหวะลีลาทํานองตางๆ เชน กลอนแปด กลอนคําคร

ในลักษณะตางๆ อาทิ ลักษณะกบเตน ลักษณะลอดโมง (นางเดินดง) ฯลฯ

๒) คลื่นเสียงบรรยาย เจรจาตัวละคร ใชทั้งภาษากลางและภาษาไทยถิ่นใต

๒.๒ หนังตะลุงแบบดั้งเดิม

๑) มีคลื่นเสียงคนขับขานหรือขับรองบทกลอนแปด แตมีจังหวะลีลาทํานองเฉพาะถิ่นภูเก็ต-พังงา ดั้งเดิม

ซึ่งตางกับหนังตะลุงแบบทั่วไป และหนังตะลุงแบบดั้งเดิมไมมีกลอนคําคร (ปจจุบันมีหนังตะลุงแบบดั้งเดิมบางคณะพยายาม

ที่จะเรียนรูในการใชกลอนคําคร)

๒) คลื่นเสียงบรรยาย เจรจาตัวละคร ใชเฉพาะภาษาไทยถิ่นใตจังหวัดภูเก็ต-พังงา

๒.๓ หนังตะลุงแบบวายังกูเละ ไมมีคลื่นเสียงคนขับขานหรือขับรองบทกลอน

(ปจจุบัน มีหนังตะลุงแบบ

วายังกูเละบางคณะพยายามที่จะเรียนรูในการใชบทกลอน) มีแตคลื่นเสียงบรรยาย กับ เจรจาตัวละคร ซึ่งใชภาษามลายูถิ่น (ยาวี)

๓. คลื่นภาพที่มาจากลีลาทาทางการเชิดรูปหนัง

๓.๑ หนังตะลุงแบบทั่วไป

จะมีคลื่นภาพที่มาจากศิลปะลีลาลาทาทางการเชิดรูปเลนเงา ของตัวละคร

ที่ทําจากหนังสัตวตามแบบหนังตะลุงทั่วไป เรื่องราวที่เลาหรือแสดง จะเปนนิทาน ตามหลักปรัชญาของศาสนาพุทธและ

ศาสนาพราหมณ (ฮินดู) แตหนักไปทางศาสนาพุทธ อาทิ เรื่องที่มีสารัตถะวา ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว ธรรมะชนะอธรรม

ความกตัญูกตเวที นรก สวรรค นิพพานฯลฯ

๓.๒ หนังตะลุงแบบดั้งเดิม

จะมีคลื่นภาพที่มาจากศิลปะลีลาทาทางการเชิดรูปเลนเงาของตัวละคร

ที่ทําจากหนังสัตวแบบหนังตะลุงดั้งเดิม เรื่องราวที่เลาหรือแสดงจะเปนนิทานตามหลักปรัชญาของศาสนาพุทธและ

ศาสนาพราหมณ (ฮินดู) แตหนักไปทางศาสนาพราหมณ (ฮินดู) อาทิ เรื่องที่มีสารัตถะในเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งก็มีธรรมะชนะอธรรม

ความกตัญูกตเวที ฯลฯ