Page 12 - ถอดบทเรียน
P. 12

ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์ และทรัพยากร
           อื่นๆ เพื่อขับเคลื่อน พัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
           และยั่งยืน และทำาอย่างไรให้ก้าวสู่สังคมดิจิทัลไทยแลนด์ เมื่อวันที่ ๓๐

           กันยายน ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีจึงมอบหมายให้กระทรวงเทคโนโลยี
           สารสนเทศและการสื่อสาร ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
           จัดทำาแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นกรอบแนวทาง






             ๑ Digital ๑๐  ยุคเริ่มต้นของ “Internet” เป็นช่วงเวลาที่กิจกรรมและการดำาเนินชีวิตของผู้คน
             เปลี่ยนจากออฟไลน์ (Offline) มาเป็นออนไลน์ (Online) เช่น การส่งจดหมายทางไปรษณีย์
             เปลี่ยนมาเป็นการส่งอีเมล์ (E-mail) และเว็บไซต์ (Website)
             Digital ๒.๐ ยุคโซเชียลมีเดีย “Social Media” เป็นยุคที่ผู้บริโภคเริ่มสร้างเครือข่ายติดต่อ
             สื่อสารกันในโลกออนไลน์ เครือข่ายสังคม (Social Network) เริ่มจากการคุยหรือแชทกับเพื่อน
             กลุ่มเล็กๆ เริ่มพัฒนาและขยายวงกว้างไปสู่การดำาเนินกิจกรรมในเชิงธุรกิจ ช่วยในการพัฒนา
             และส่งเสริม (Brand)
             Digital ๓.๐ ยุคแห่งข้อมูลดิจิตอล “Big data” ยุคแห่งการเติบโตของโซเชียลมีเดียและ
             E-Commerce จากยุค ๒.๐ ทำาให้เกิดการขยายของข้อมูลอย่างมหาศาล ทุกแพลตฟอร์ม
             ไม่ว่าจะเป็น สื่อโซเชี่ยล เว็บเบราวเซอร์ หรือแม้แต่ธุรกิจอย่างธนาคาร โลจิสติกส์ ประกันภัย
             รีเทล ต่างมีข้อมูลเข้าออกเป็นจำานวนมากในแต่ละวัน และเริ่มมีการนำาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ให้
             เกิดประโยชน์ มีระบบคลาวด์ (Cloud Computing) มาช่วยอำานวยความสะดวก จัดเก็บข้อมูล
             เลือกทรัพยากรตามการใช้งาน และทำาให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลบนคลาวด์จากที่ใดก็ได้ ผู้ใช้
             ทุกคนสามารถเข้าถึงระบบ ข้อมูลต่างๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต สามารถจัดการ บริหารข้อมูลและ
             แบ่งปนข้อมูลกับผู้อื่น (Shared Services) พัฒนาเป็นแอพลิคชั่น (Application) ที่ให้
             ความสะดวกสบายแก่ผู้บริโภคผ่านทางสมาร์ทโฟนและแท็บเลต
             Digital ๔.๐ ยุคที่ความฉลาดของเทคโนโลยีจะทำาให้อุปกรณ์ต่างๆสื่อสารและทำางานกันเอง
             ได้อย่างอัตโนมัติ เทคโนโลยีถูกนำามาพัฒนาต่อยอดเพื่อลดบทบาทของมนุษย์ และเพิ่มศักยภาพ
             ของมนุษย์ในการใช้ความคิดเพื่อข้ามขีดจำากัด สร้างสรรค์พัฒนาสิ่งใหม่ๆ ยุค Machine-to-
             Machine เช่น การเปิด-ปิด หรือสั่งงานอื่นๆกับเครื่องใช้ไฟฟาในบ้านตัวเองผ่านแอพลิเคชั่น
             โดยไม่ต้องเดินไปกดสวิตช์ เทคโนโลยีซิมูเลชั่น Simulation จำาลองสถานการณ์เพื่อฝึกอบรม
             วางแผนสถานการณ์โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปถึงสถานที่จริง  หรือเป็นสื่อการเรียนรู้
             แบบโต้ตอบ (Interactive) เป็นต้น


         10        ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป  พ.ศ. ๒๕๖๒  ๐๑
                       หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17