Page 86 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 86

82




            ต้นตะเคียนทอง




            ชื่อสามัญ        Iron wood, Thingan, Sace, Malabar iron wood

            ชื่อวิทยาศาสตร์   Hopea odorata Roxb.
            ชื่อวงศ์         DIPTEROCARPACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    กะกี้, โกกี้ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), แคน (ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ),
                             จูเค้, โชเก, จะเคียน (ภำคเหนือ), ตะเคียนทอง (ภำคกลำง)



            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     ตะเคียน เป็นไม้ในป่ำดงดิบไม่ผลัดใบขึ้นกระจำยอยู่ตำมที่รำบ หรือในที่ค่อนข้ำงรำบใกล้ฝั่งแม่น�้ำหรือ
            ล�ำธำร มีเขตกำรกระจำยพันธุ์ตำมธรรมชำติทำงตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียในแถบประเทศไทย
            ลำว พม่ำ กัมพูชำ เวียดนำม และมำเลเซีย ประโยชน์ต้นตะเคียน เนื้อไม้สวยและทนทำนใช้ต่อเรือท�ำเครื่องตกแต่ง
            บ้ำน และเครื่องมือใช้ในทำงกสิกรรม สรรพคุณทำงยำ แก่นมีรสขมอมหวำน รักษำคุดทะรำด ขับเสมหะ แก้โลหิต

            และก�ำเดำ


            Ta Kien Thong





            Common name  Iron wood, Thingan, Sace, Malabar iron wood
            Scientific name  Hopea odorata  Roxb.
            Family name      DIPTEROCARPACEAE
            Other names      Ka Ki, Ko Ki (Karen-Chiang Mai), Kaen (Northeastern Thailand),
                                Jukae, Cho-ke, Ja Kien (Northern Thailand), Ta Kien Thong (Central Thailand)




            Botanical characteristics

                     Ta Kien is an evergreen tree growing in tropical rain forests near riverbanks or streams.
            The trees are naturally distributed in the south and southeast of Asia in Thailand, Laos, Myanmar,
            Cambodia, Vietnam, and Malaysia. The quality of Ta Kien Wood is good, nice, and durable. It is
            thus used for building boats, furniture, and agricultural tools. Its heartwood tastes bitter-sweet
            and also has some medicinal properties to relieve yaws phlegm and nosebleeds.








       82
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91