Page 180 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 180

176



            ต้นกันเกรา




            ชื่อสามัญ        Tembusu
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Fagraea fragrans Roxb.
            ชื่อวงศ์         GENTIANACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    ตะมะซู (มำเลเซีย-ภำคใต้), ตำเตรำ (เขมร-ภำคตะวันออก), ต�ำมูซู (มำเลเซีย-ภำคใต้),
                             ต�ำเสำ ท�ำเสำ (ภำคใต้), มันปลำ (ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภำคเหนือ)


            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     ต้นกันเกรำ มีลักษณะต้นขนำดกลำงถึงขนำดใหญ่ สูง ๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปสำมเหลี่ยมหรือกลมทึบ เปลือกสีน�้ำตำลเข้ม
            แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้ำม แผ่นใบรูปมนรี ขนำดกว้ำง ๒.๕ - ๓.๕ เซนติเมตร ยำว ๘ - ๑๑ เซนติเมตร ปลำยใบแหลม
            โคนใบแหลม ใบหนำคล้ำยหนัง สีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้ำงละ ๖ - ๑๐ เส้น ก้ำนใบยำว ๐.๖ - ๑.๘ เซนติเมตร มีหูใบ
            ระหว่ำงก้ำนใบคล้ำยรูปถ้วยเล็ก ๆ ผลแบบผลมีเนื้อหลำยเมล็ด รูปกลม ขนำด ๕ - ๘ มิลลิเมตร ปลำยผลมีติ่งแหลมสั้น ๆ ผลอ่อนสีส้ม
            เมื่อแก่เต็มที่เปลี่ยนเป็นแดงเลือดนก มีรสขม เมล็ด จ�ำนวนมำก ขนำดเล็ก สีน�้ำตำลไหม้ ดอกเป็นช่อตำมซอกใบ เมื่อเริ่มบำนจะเป็นสีขำว
            เมื่อบำนเต็มที่จะเป็นสีเหลืองอมแสด ที่กลีบโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลำยแยกออกเป็น ๕ แฉก ปลำยแฉกแหลม ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอม
            ขึ้นทั่วไปในทุกภำคของประเทศไทย ออกดอกช่วงเดือนเมษำยน - มิถุนำยน เป็นผลเดือนมิถุนำยน - กรกฎำคม สรรพคุณ แก่นมีรสเฝื่อน ฝำด
            และขม ช่วยบ�ำรุงไขมันในร่ำงกำย ช่วยบ�ำรุงธำตุในร่ำงกำย แก้เลือดพิกำร แก้ไข้จับสั่น แก้อำกำรหืดไอ ขับลมในกระเพำะ แก้มูกเลือด
            เป็นยำอำยุวัฒนะ เปลือกต้นช่วยบ�ำรุงโลหิต รักษำผิวหนังพุพอง ปวดแสบปวดร้อน ใบและผลมีสำรคำลอยด์ที่ชื่อว่ำ Gentianine ซึ่งมีฤทธิ์
            ในกำรแก้ปวด แต่ไม่มีฤทธิ์ในกำรต้ำนแบคทีเรีย


            Ton Kankrao




            Common name  Tembusu
            Scientific name  Fagraea fragrans Roxb.
            Family name      GENTIANACEAE
            Other names      Tamasue (Malaysia-Southern Thailand), Ta Trao (Khmer-Eastern Thailand), Tam Musu (Malaysia-Southern Thailand), Tam Sao,
                             Tham Sao (Southern Thailand), Mun Pla (Northeastern Thailand, Northern Thailand)


            Botanical characteristics

                     Kankrao is a medium-to-large evergreen tree with the height of 25 meters. The top grows in a triangular or round bushy shape. The dark
            brown barks crack into deep grooves in disorganized pattern. The tree has single leaves, arranged opposite pattern. The leaf is ovate with the width
            of 2.5 - 3.5 centimeters and the length of 8 - 11 centimeters. The leaf tip and base are acute. The leaf is thick like leather and has glossy dark green
            color. The leaf margin is smooth. The leaf has 6 - 10 secondary roots. The petiole is 0.6 - 1.8 centimeters long. There are small cup-shaped stipules
            between the petioles.  The fruit is in a spherical shape with the size of 5 - 8 millimeters and has the pulp with multi-seeds. The tip of the fruit has a
            short-pointed lobe. The young fruit is orange, and it turns scarlet with a bitter taste and small dark brown seeds when fully mature. The flowers grow
            at the leaf axils. The flowers are white when they are blooming and turn bright yellow when fully blooming. The base petals are connected to form
            a short tube. The tip has five acute points. The inflorescence is yellow and fragrant. Kankrao trees grow in every region of Thailand. The flowering
            time is in April – June. The tree bears its fruits in June - July. The heartwood is bitter and can nourish the body fat and the elements in the body,
            cure blood diseases, relieve malaria, asthma, flatulence, and bloody flux. It can used as an elixir. The bark can nourish the blood and treat blistered
            skin and burning pains. The leaf and the fruit contain Gentianine which can relieve pains but has no antibacterial activity.



       176
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185