Page 81 - ผู้สูงอายุ
P. 81

การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้

                   ทางวัฒนธรรม

                     กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย       ๒) ประชาคมอาเซียนกับงานวัฒนธรรม  อาทิ
              เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ในการดำาเนินงานวัฒนธรรม และ    การบริหารจัดการทางวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นเมือง (มานิ)

              แก้ไขปัญหาด้านวัฒนธรรมของชาติตามนโยบายของ           ของประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย การธำารงอัตลักษณ์
              กระทรวงวัฒนธรรม และภารกิจของกรม โดยสนับสนุน         ทางวัฒนธรรมล้านนาของชาวไทยวนพลัดถิ่นเมืองเมียวดี
              การวิจัยทางวัฒนธรรม  ๓  ประเด็น  คือ  การนำาทุน     ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา การค้นหามิติร่วม
              ทางวัฒนธรรมมาสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่า      ทางวัฒนธรรมและองค์ประกอบละครโทรทัศน์เชิงพาณิชย์

              ทางเศรษฐกิจ ประชาคมอาเซียนกับงานวัฒนธรรม และ        เพื่อการพัฒนาวัฒนธรรมบันเทิงไทยสู่อาเซียน หลักบ้าน
              การอนุรักษ์และความหลากหลายของวัฒนธรรม ซึ่งได้       หลักเมืองลุ่มนำ้าโขง กรณีศึกษาพื้นที่ศิลปวัฒนธรรมร่วม

              ดำาเนินการจัดสรรอุดหนุนทุนวิจัย จำานวน ๓๖ โครงการ   ภูมิภาคของนครหลวงเวียงจันทน์ และหนองคาย เป็นต้น
              แบ่งเป็น                                                  ๓) การอนุรักษ์และความหลากหลายของวัฒนธรรม
                     •  ทุนเจาะจง จำานวน ๓ โครงการ ประกอบด้วย     อาทิ การศึกษารวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาแป้งหอมผู้ไทย
                       ๑. แผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม     ของกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ

              แบบกรณีศึกษาลุ่มนำ้าสะแกกรัง และปากนำ้าประแสร์      ประเทศไทย แนวทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์เสมือนบนฐาน
                       ๒. โครงการพัฒนาชุดข้อมูลและตัวชี้วัด เพื่อ  การมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาการน้อมนำาปรัชญาของ
              ติดตามประเมินผลการส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่านของไทย     เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวัฒนธรรม

                       ๓. โครงการวิจัยเพื่อจัดทำาแผนแม่บทส่งเสริม  ของชุมชนในเขตภาษีเจริญ การสะสมอำานาจชอบธรรมของ
              และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑-         ชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม การศึกษาการจัดการความขัดแย้ง
              ๒๕๖๔                                                ในชุมชนผ่านพิธีกรรมการเหยาของกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทย

                     •  ประเภททุนทั่วไป จำานวน ๓๓ โครงการ         ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น
              แบ่งเป็น
                       ๑) การนำาทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างคุณค่า

              ทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ อาทิ การสร้าง
              มูลค่าเพิ่มผ้าคลุมผมสตรีมุสลิมด้วยลวดลายจวนตานี
              การประยุกต์ใช้ผ้าทอจันเสนร่วมกับงานจักสานเพื่อพัฒนา
              ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงพาณิชย์  จังหวัดนครสวรรค์ การพัฒนา

              ต่อยอดองค์ความรู้ในการผลิตผ้าไหมย้อมสีด้วยเมล็ด
              มะขามเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ กรณีศึกษาผ้าขาวม้า
              บ้านทัพกระบือ ต.สำาโรง อ.เมือง จ.สุรินทร์ การพัฒนา

              ศักยภาพงานหัตถกรรมเครื่องเขินวัฒนธรรมล้านนา
              เพื่อเสริมสร้างมูลค่าสู่ตลาดผู้บริโภคเชื่อมโยงวัฒนธรรม
              สู่การท่องเที่ยว โดยชุมชนบ้านศรีปันครัว ตำาบลท่าศาลา

              อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น


                                                                                       ๘1    รายงานประจำาปี ๒๕๖๐
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86