Page 22 - ผู้สูงอายุ
P. 22

๔) ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและรักษา               องค์ประกอบที่ ๒ ประสิทธิภาพในการ

           มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา  ดำาเนินงานตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์หรือภารกิจ
           คัดเลือกรายการเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม      ที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda base)
           เพื่อขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๐     ได้แก่ ตัวชี้วัดการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน

                   ๕) ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและรักษา         เป็นการวัดผลการดำาเนินงานของส่วนราชการเปรียบเทียบ
           มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม  เรื่อง  หลักเกณฑ์และ       กับแผนการการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน
           มาตรการเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญา     โดยประเมินจากปริมาณและประสิทธิภาพของการชี้แจง
           ทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๐                                ของส่วนราชการตามแผนของการดำาเนินงานในแต่ละรอบ

                 ๓. ความสำาเร็จของการส่งเสริม สนับสนุนให้นำาทุน  ของการประเมิน
           ทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์สินค้าและบริการ มีแผนงาน/

           โครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมเพื่อสืบสานมรดก        องค์ประกอบที่ ๓  ประสิทธิภาพในการดำาเนิน
           ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์  ซึ่ง      งานตามหลักภารกิจพื้นที่ หรือการบูรณาการ
                                                                การดำาเนินงานหลายหน่วยงาน (Area base)
           กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ดำาเนินโครงการ “พัฒนาแหล่ง
           ศิลปวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยว” ประจำาปี       - ไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ ๓ -

           งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีกิจกรรมหลัก จำานวน ๓ กิจกรรม
           คือ กิจกรรมพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กิจกรรม        องค์ประกอบที่  ๔ ประสิทธิภาพในการ
           ถนนสายวัฒนธรรม และกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม    บริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหาร

           ของชุมชน                                             จัดการระบบงาน (Innovation base)
                 ทั้งนี้ ความสำาเร็จจากการดำาเนินการส่งเสริมการ       ๑. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ  เป็นการ
           นำาทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์       วัดประสิทธิภาพการเบิกจ่ายภาพรวมของส่วนราชการ

           ทางวัฒนธรรมไทย เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพ และ       รายจ่ายภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๖
           สร้างรายได้ให้กับประชาชน และชุมชน                          ๒. ข้อเสนอประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
                 ๔. การจัดการองค์ความรู้ของศิลปนแห่งชาติและ    และพัฒนานวัตกรรมของส่วนราชการ ได้แก่ ข้อเสนอ

           ศิลปนพื้นบ้าน                                       การพัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานในด้านต่างๆ
                 มีการจัดทำาแผนการจัดการองค์ความรู้จากศิลปน    เช่น การพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน
           แห่งชาติและศิลปนพื้นบ้านอยู่ในแผนการจัดการความรู้   งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล ความผูกพันของบุคลากร
           (KM)  กรมส่งเสริมวัฒนธรรม  ประจำาปีงบประมาณ          ต่อองค์การ เทคโนโลยี ฐานข้อมูล กฎหมาย การพัฒนาการ

           พ.ศ. ๒๕๖๐ และเผยแพร่ทางเว็บไซต์กรมส่งเสริมวัฒนธรรม   บริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งมีผลงาน
           แผนการจัดทำาองค์ความรู้ ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับ  ที่เกิดขึ้นจริง
           ศิลปนพื้นบ้าน  ศิลปนแห่งชาติ  เป็นต้น                    องค์ประกอบที่  ๕  ศักยภาพในการเป็น
                                                                ส่วนราชการที่มีความสำาคัญเชิงยุทธศาสตร์
                                                                เพื่อการพัฒนา (Potential base)

                                                                      ได้แก่ การจัดทำาและดำาเนินการตามแผนการ

                                                                ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เป็นการวัดการดำาเนินงานของ
                                                                ส่วนราชการเปรียบเทียบแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

                                      22
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27