Page 64 - รายงานประจำปี2559
P. 64
การปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม หมายถึง ปฏิบัติ หรือในบางเรื่องเป็นเสมือนจิตวิญญาณ
องค์ความรู้หรือผลงานที่เกิดจากบุคคล/กลุ่มชน ที่ยึดถือร่วมกันของคนในสังคม รวมทั้งในบางเรื่อง
ที่ได้มีการสร้างสรรค์ พัฒนา สั่งสม สืบทอดและ ยังคงมีความงดงามและมีคุณค่าทางศิลปะสูงยิ่ง
ประยุกต์ใช้ในวิถีการดำาเนินชีวิตมาอย่างต่อเนื่อง การออกกฎหมายพระราชบัญญัติส่งเสริม
และสอดคล้องเหมาะสมกับสภาพสังคมและ และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙
สิ่งแวดล้อมของแต่ละกลุ่มชน อันแสดงให้เห็นถึง กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ดำาเนินการตามขั้นตอน
อัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของการเสนอร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
ซึ่งมรดกภูมิปัญญา ประกอบด้วย ผลงานสร้างสรรค์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ -
ทางสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ๒๕๕๙ จนได้มีการประกาศราชกิจจานุเบกษา
หัตถกรรม ศิลปะพื้นบ้าน ความรู้ความสามารถ เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๙ ก ลงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙
ทักษะ วิถีการปฏิบัติ ซึ่งแสดงออกทางภาษา เรื่อง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดก
ศิลปะการแสดง งานช่างฝีมือ ความเชื่อ ประเพณี ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีผลบังคับใช้
พิธีกรรม อาหาร เป็นต้น โดยที่สิ่งต่างๆ ดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๙
ได้ส่งผ่านและสืบทอดกันมารุ่นต่อรุ่น เป็นแนวทาง
62
62