72
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
เนื่
องจากดนตรี
ของโนราจะเปลี่
ยนจั
งหวะท�
ำนองตามแต่
ท่
าร�
ำของผู
้
ร�
ำ
ดั
งนั้
นเครื่
องดนตรี
ของโนราส่
วนใหญ่
จึ
งเป็
นเครื่
องตี
ส�
ำหรั
บให้
จั
งหวะ ประกอบ
ด้
วย ทั
บหนึ่
งคู
่
(โทนหรื
อทั
บโนรา) เป็
นเครื่
องตี
ที่
ส�
ำคั
ญที่
สุ
ด เพราะท�
ำหน้
าที่
คุ
มจั
งหวะและเป็
นตั
วน�
ำในการเปลี่
ยนจั
งหวะท�
ำนองตามผู
้
ร�
ำ ใช้
ผู
้
ตี
เพี
ยงคน
เดี
ยว เสริ
มเน้
นจั
งหวะด้
วยกลองทั
บ ปี่
โหม่
ง หรื
อฆ้
องคู่
ฉิ่
ง และแตร
องค์
ประกอบส�
ำคั
ญของการแสดงโนรานั้
นคื
อการผสานกั
นอย่
าง
กลมกลื
นระหว่
างการร้
องกั
บการร�
ำ แต่
ในบางโอกาสยั
งแสดงเป็
นเรื่
อง
และในบางส่
วนจั
ดเป็
นการประกอบพิ
ธี
ตามคติ
ความเชื่
อเรื่
องการไหว้
ครู
อี
กด้
วย
การแสดงของโนราสามารถแบ่
งได้
เป็
น ๒ รู
ปแบบหลั
กที่
มี
ความแตกต่
างกั
น
หนึ่
งคื
อ โนราประกอบพิ
ธี
กรรม หรื
อที่
เรี
ยกว่
า
โนราโรงครู
สองคื
อ
โนรา
เพื่
อความบั
นเทิ
ง
โนราโรงครู
เป็
นพิ
ธี
ที่
มี
ความส�
ำคั
ญของวงการโนรา
ใช้
เพื่
อแสดงความเคารพนบนอบต่
อครู
และบรรพบุ
รุ
ษ อี
กทั้
งยั
งสร้
างความเป็
น
อั
นหนึ่
งอั
นเดี
ยวกั
นในสั
งคม จากศรั
ทธาและความเชื่
อที่
มี
ร่
วมกั
น โนราโรงครู
เป็
นพิ
ธี
กรรมเพื่
อเชิ
ญครู
หรื
อบรรพบุ
รุ
ษของโนรามายั
งโรงพิ
ธี
หรื
อมาเข้
าทรง
(โนราลงโรง) เพื่
อไหว้
ครู
หรื
อไหว้
ตายายโนรา เพื
่
อรั
บของแก้
บนและ
เพื่
อครอบเทริ
ดหรื
อผู
กผ้
าแก่
ผู
้
แสดงโนรารุ
่
นใหม่
ซึ่
งถื
อเป็
นพิ
ธี
กรรมอั
นศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
และมี
สิ
ริ
มงคลยิ่
ง
ส่
วนโนราเพื่
อความบั
นเทิ
ง เป็
นการแสดงเพื่
อให้
ความบั
นเทิ
งโดยตรง
และมี
ส่
วนส�
ำคั
ญในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของคนในชุ
มชน เนื
่
องจากโนราประเภทนี้
มั
กจั
ดขึ้
น
ในงานวั
ดเพื่
อหารายได้
บ�
ำรุ
งศาสนา งานประเพณี
ส�
ำคั
ญตามนั
กขั
ตฤกษ์
งาน
พิ
ธี
เฉลิ
มฉลองต่
างๆ ที่
ชาวบ้
าน วั
ด หรื
อหน่
วยราชการ จั
ดขึ้
นในโอกาสพิ
เศษ
การแสดงของโนราประกอบด้
วย การร�
ำ ที่
ต้
องร�
ำอวดความช�
ำนาญและความสามารถ
เฉพาะตน โดยการร�
ำผสมท่
าต่
างๆ เข้
าด้
วยกั
นอย่
างต่
อเนื่
องกลมกลื
นหรื
อ
การเล่
นแขน การท�
ำตั
วอ่
อน ผนวกกั
บการร้
อง เช่
น ขั
บบทกลอนที่
ต้
องอาศั
ย
ปฏิ
ภาณในการต่
อกลอน มี
ความคมคายทางภาษา นอกจากนี้
ยั
งอาจมี
การ
ท�
ำบท ซึ่
งเป็
นการอวดความสามารถในการตี
ความหมายของบทร้
องเป็
นท่
าร�
ำ
ให้
ค�
ำร้
องและท่
าร�
ำสั
มพั
นธ์
กั
น ต้
องตี
ท่
าให้
พิ
สดารหลากหลายและครบถ้
วน
กลมกลื
นกั
บจั
งหวะและลี
ลาของดนตรี
อย่
างเหมาะเจาะ ด้
วยความยากในการ
แสดงการท�
ำบทจึ
งถื
อเป็
นศิ
ลปะสุ
ดยอดของโนรา และหากมี
เวลาในการแสดง
มากพอ มั
กแสดงเป็
นเรื่
องราวเพื่
อให้
เกิ
ดความสนุ
กสนาน เน้
นความตลกและ
การขั
บบทกลอนแบบโนราให้
ได้
เนื้
อหาตามท้
องเรื่
อง