34
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
ส่
วนการประดิ
ษฐ์
กระทงให้
วิ
จิ
ตรงดงามดั
งเช่
นที่
เห็
นได้
ทั่
วไปในปั
จจุ
บั
น สื
บทอดมาจากการท�
ำกระทงใบตองที่
ปรากฏ
หลั
กฐานครั้
งแรกจากหนั
งสื
อพระราชพงศาวดาร รั
ชกาลที
่
3
ว่
ากรมหมื่
นอั
ปสรสุ
ดาเทพ พระราชธิ
ดาองค์
โปรดได้
แต่
งกระทง
เล่
นทุ
กปี
เมื่
อนานเข้
าก็
เริ่
มแพร่
หลายสู
่
ราษฎรในกรุ
งเทพฯ
แล้
วขยายไปยั
งหั
วเมื
องใกล้
เคี
ยงในบริ
เวณที่
ราบลุ
่
มแม่
น�้
ำเจ้
าพระยา
และเริ่
มเป็
นที่
นิ
ยมแพร่
หลายทั่
วประเทศประมาณปี
พ.ศ. ๒๕๐๐
จากความผู
กพั
นกั
บสายน�้
ำและความตระหนั
กรู
้
ถึ
ง
คุ
ณประโยชน์
ในการเกื้
อกู
ลซึ่
งกั
นและกั
นในการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต
ก่
อให้
เกิ
ดประเพณี
อั
นดี
งามดั
งเช่
นประเพณี
ลอยกระทงที่
สะท้
อน
ให้
เห็
นว่
า คนไทยเรามี
วั
ฒนธรรมที่
ผู
กพั
นกั
บสายน�้
ำ และประเพณี
แห่
งการขอขมาสายน�้
ำนั้
นยั
งมุ
่
งหวั
งที่
จะให้
ทุ
กคนในชุ
มชนดู
แล
รั
กษาทรั
พยากรน�้
ำอั
นสมบู
รณ์
ไว้
ให้
สื
บต่
อไปตราบนานเท่
านาน
ลอยกระทง ๔ ภาค
ภาคเหนื
อ
การลอยกระทงของชาวเหนื
อนิ
ยมท�
ำกั
นในคื
นวั
นเพ็
ญ
ของเดื
อนยี่
(เดื
อนสองตามจั
นทรคติ
ตรงกั
บเดื
อนธั
นวาคม
หรื
อมกราคม) แต่
ในปั
จจุ
บั
นได้
มี
การจั
ดงานในวั
นขึ
้
น ๑๕ ค�่
ำ
เดื
อน ๑๒ โดยจั
ดเป็
นประเพณี
ยิ่
งใหญ่
ในหลายจั
งหวั
ด เช่
น
ประเพณี
ยี่
เป็
งของจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
ประเพณี
ลอยกระทงสาย
จั
งหวั
ดตาก และประเพณี
ล่
องสะเป่
าของจั
งหวั
ดล�
ำปาง
และงานลอยกระทงเผาเที
ยนเล่
นไฟของจั
งหวั
ดสุ
โขทั
ย