Page 140 - Thai Culture

Basic HTML Version

138 
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
การติ
ดต่
อค้
าขายกั
บชาวต่
างชาติ
ของคนไทยในอดี
ตตลอดจนภู
มิ
ประเทศที่
ใกล้
ชิ
ดกั
น ยั
งมี
ผลให้
เกิ
ดการผสมผสาน
ด้
านวั
ฒนธรรมการกิ
น จนเกิ
ดเป็
นอาหารที่
มี
เอกลั
กษณ์
เฉพาะของแต่
ละท้
องถิ่
น คนในภาคเหนื
อผลิ
ตและ
บริ
โภคข้
าวเหนี
ยวเป็
นหลั
ก ชุ
ดอาหารที่
จั
ดอยู
ในขั
นโตกจึ
งประกอบด้
วยข้
าวเหนี
ยวที่
กิ
นโดยการปั
นเป็
นก้
อนจิ้
กิ
นกั
บน�้
ำแกงหรื
อน�้
ำพริ
ก เช่
น น�้
ำพริ
กหนุ่
ม น�้
ำพริ
กอ่
อง น�้
ำพริ
กน�้
ำปู๋
มี
ผั
กสดหรื
อผั
กนึ่
งเป็
นเครื่
องจิ้
ม นอกจากนี้
ยั
งมี
อาหารประเภทเครื่
องแกง เช่
น แกงขนุ
นอ่
อน แกงแค แกงฮั
งเลแกงโฮะ แกงหน่
อไม้
แกงอ่
อม แกงผั
กหวาน
และอาหารประเภททอด ย�
ำ หรื
อนึ่
ง เช่
น ย�
ำหน่
อไม้
ย�
ำกบ ต�
ำจิ๊
นแห้
ง ต�
ำขนุ
น ต�
ำมะม่
วง ผั
กกาดส้
ม ข้
าวกั๊
นจิ๊
ห่
อนึ่
งปลา แคบหมู
ไส้
อั่
คนภาคกลางบริ
โภคข้
าวเจ้
าเป็
นหลั
ก เพราะเป็
นภาคที่
มี
ความอุ
ดมสมบู
รณ์
มากกว่
าภาคอื่
นๆ ท�
ำให้
กั
บข้
าว
ของภาคกลางมี
การผสมผสานวั
ฒนธรรมจากหลากหลายเชื้
อชาติ
ได้
แก่
จี
น อิ
นเดี
ย กั
มพู
ชา และประเทศทางตะวั
นตก
ที่
เข้
ามา แต่
ปรั
บรสให้
ถู
กปากและเหมาะกั
บความเป็
นอยู่
ของคนไทย เช่
น อาหารประเภทแกงกะทิ
การผั
ดอาหาร
โดยใช้
กระทะและน�้
ำมั
น ส�
ำรั
บของภาคกลางจึ
งมี
กั
บข้
าวหลายอย่
าง และมี
รสชาติ
ที่
หลากหลาย ซึ่
งเกิ
ดจากเครื่
องปรุ
หลายชนิ
ด เช่
น รสเปรี้
ยวที่
ใช้
ปรุ
งอาหาร ได้
จากทั้
งมะนาว มะขาม มะกรู
ด ตะลิ
งปลิ
ง ส่
วนรสเค็
มได้
จากน�้
ำปลา กะปิ
ความเผ็
ดได้
จากพริ
ก พริ
กไทย และเครื่
องเทศ
คนภาคอี
สานบริ
โภคข้
าวเหนี
ยว และมี
ปลาร้
า ซึ่
งเกิ
ดจากภู
มิ
ปั
ญญาด้
านการถนอมอาหาร ใช้
เป็
นส่
วนประกอบ
หลั
กในอาหารได้
ทุ
กประเภท ชุ
ดอาหารของคนอี
สานจั
ดไว้
ใน
“พา”
ซึ่
งท�
ำด้
วยหวายหรื
อไม้
ไผ่
มี
ลั
กษณะกลม ขนาดใหญ่
หรื
อเล็
กขึ้
นอยู
กั
บจ�
ำนวนสมาชิ
กในครอบครั
ว ภายในพาจะใส่
อาหารที่
รั
บประทานกั
บข้
าวเหนี
ยว มี
เครื
องจิ้
ม เครื่
องแนม
ย�
ำ และแกง คล้
ายกั
บคนไทยในภาคอื่
นๆ
นอกเหนื
อจากภู
มิ
ประเทศติ
ดชายฝั
งทะเลจะท�
ำให้
คนภาคใต้
มี
อาหารทะเลรั
บประทานได้
อย่
างอุ
ดมสมบู
รณ์
ลั
กษณะอาหารของคนภาคใต้
ยั
งมี
ส่
วนที
ผสมผสานระหว่
างวั
ฒนธรรมการกิ
นของชาวไทยพุ
ทธกั
บชาวไทยมุ
สลิ
มด้
วย
โดยเฉพาะการใช้
เครื่
องเทศเป็
นหนึ่
งในวั
ตถุ
ดิ
บในการปรุ
งอาหาร นอกจากนี้
ด้
วยมี
ฝนตกชุ
กและมี
ฤดู
ฝนนานกว่
าภาคอื่
นๆ
จึ
งมี
ผั
กที่
ใช้
เป็
นอาหารแตกต่
างไปจากภาคอื่
นๆ เช่
น สะตอ ลู
กเนี
ยง มะม่
วงหิ
มพานต์
หน่
อเหรี
ยง ใบพาโหม
อ้
อดิ
บ ส�
ำรั
บอาหารของภาคใต้
นิ
ยมจั
ดไว้
บนถาดทองเหลื
องทรงกลม มี
กั
บข้
าวที่
รั
บประทานกั
บข้
าวสวย เช่
เครื่
องจิ้
ม เครื่
องแนม ผั
ด และแกง
ภู
มิ
ปั
ญญาในการจั
ดส�
ำรั
บอาหารไทย นอกจากแสดงให้
เห็
นผ่
านรสชาติ
และประเภทของการปรุ
งอาหารที่
ครบเครื่
องแล้
ว ยั
งแฝงไว้
ด้
วยคุ
ณค่
าทางโภชนาการที่
เป็
นประโยชน์
ต่
อร่
างกาย โดยค�
ำนึ
งถึ
งสภาพชี
วิ
ตและความเป็
นอยู
ใน
แต่
ละภู
มิ
ภาคเป็
นหลั
ก การล้
อมวงกิ
นข้
าวของคนไทยในแต่
ละภู
มิ
ภาคยั
งเป็
นวั
ฒนธรรมการกิ
นอาหารที่
มี
เอกลั
กษณ์
นอกจากได้
ความอร่
อยแล้
ว ยั
งเสริ
มสร้
างความสั
มพั
นธ์
ของคนในครอบครั
วในวงส�
ำรั
บอาหารอี
กด้
วย 
“ส�
ำรั
บอาหารชาววั
ง”
เกิ
ดขึ้
นในภาคกลาง มี
ความหลากหลายและ
ประณี
ตมากกว่
าอาหารไทยในแต่
ละภาค มี
ทั้
งเครื่
องคาว เครื่
องหวาน
เครื่
องเคี
ยงและเครื่
องว่
าง อาหารแต่
ละชนิ
ดมี
การประดิ
ษฐ์
ให้
เลิ
ศรส
มี
ความวิ
จิ
ตรบรรจง และยั
งเป็
นต้
นก�
ำเนิ
ดของอาหารหลายชนิ
ด เช่
ช่
อม่
วง จ่
ามงกุ
ฎ หรุ่
ม ลู
กชุ
บ กระเช้
าสี
ดา ข้
าวแช่
รวมทั้
งการแกะสลั
ผั
กและผลไม้
เป็
นลวดลายอั
นงดงาม