134
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
ส�
ำรั
บอาหารไทย
วั
ฒนธรรมการกิ
นอยู่
แบบไทย
เอกลั
กษณ์
ของอาหารไทยมิ
ใช่
มี
เพี
ยงรสชาติ
กลิ่
นหอม รู
ปลั
กษณ์
และกรรมวิ
ธี
การปรุ
งเท่
านั้
น แต่
ยั
งรวมถึ
งคุ
ณค่
าทางโภชนาการที่
รวมอยู
่
ในมื้
ออาหาร ผ่
านการจั
ดให้
ครบหมวดหมู
่
ในส�
ำรั
บอาหารของแต่
ละภาค ซึ่
งเกิ
ดขึ้
นจากการน�
ำวิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
มาผสานกั
นจนเกิ
ดเป็
นวั
ฒนธรรมการกิ
นในแต่
ละท้
องถิ่
น
สั
งคมไทยอยู
่
รวมกั
นเป็
นครอบครั
วใหญ่
มื้
ออาหารหลั
กของครอบครั
ว
จึ
งเป็
นอาหารมื้
อเย็
นที่
ทุ
กคนในบ้
านอยู่
ร่
วมรั
บประทานกั
นอย่
างพร้
อมหน้
า จึ
งมั
กจั
ดเป็
น
อาหารชุ
ดใหญ่
และเนื่
องจากคนไทยบริ
โภคข้
าวเป็
นหลั
ก ส�
ำรั
บอาหารในแต่
ละมื้
อจึ
งเน้
น
ที่
การคิ
ดหากั
บข้
าวให้
มี
ความหลากหลายและถู
กปากคนในครอบครั
ว เรี
ยกว่
าเสพได้
ทั้
งทาง
ตาและลิ้
น จั
ดรวมมาเป็
นชุ
ดในภาชนะ การจั
ดส�
ำรั
บเช่
นนี
้
มี
ชื่
อเรี
ยกต่
างกั
นไปในแต่
ละภาค
ภาคกลางเรี
ยกว่
า
“ส�
ำรั
บ”
ภาคใต้
เรี
ยกว่
า
“หฺ
มฺ
รั
บ”
(ออกเสี
ยง ม ควบ ร อ่
านว่
า หมรั
บ)
ภาคเหนื
อเรี
ยกว่
า
“ขั
นโตก”
ภาคอี
สานเรี
ยกว่
า
“พาข้
าว”
• โตก หรื
อขั
นโตก
• หฺ
มฺ
รั
บ
• พาข้
าว