10
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ที่
สาขา
รายละเอียด
๕
งานช่
างฝีมือดั
้งเดิม
หมายถึง ภู
มิปั
ญญา ทั
กษะ
ฝีมือช่
าง การเลือกใช้วั
สดุ
และกลวิธีการสร้างสรรค์
ที่
แสดงถึงอั
ตลั
กษณ์
สะท้อน
พั
ฒนาการทางสั
งคมและ
วั
ฒนธรรมของกลุ
่
มชน
๕) โหราศาสตร์
ดาราศาสตร์
เป็
นองค์
ความรู
้เกี่
ยวกั
บการทำนายทายทั
ก
ดวงชะตา ดวงดาว จั
กรวาล และสิ่
งที่
เหนื
อธรรมชาติ หรื
อเป็
นวิ
ชาที่
ว่
าด้
วย
การพยากรณ์
โดยอาศั
ยการโคจรของดวงดาวเป็
นหลั
ก เช่
น การตั
้
งช ื่
อ
การทำนายอนาคต การให้ฤกษ์ และอื่
นๆ เป็
นต้น
๑) ผ้
าและผลิ
ตภั
ณฑ์
จากผ้
า หมายถึ
ง ผลผลิ
ตที่
เกิ
ดจากการทอ ย้
อม
ถั
ก ปั
ก ตีเกลียว ยก จก มั
ดหมี่
พิมพ์
ลาย ขิด เกาะ/ล้วง เพื่
อใช้เป็
นเครื่
องนุ
่
งห่
ม
แสดงสถานภาพทางสั
งคม ลั
กษณะของผ้
าไทยเป็
นผ้
าหน้
าแคบ ลวดลายผ้
า
มีความเกี่
ยวข้องกั
บตำนานพื ้นถิ่
น ความเชื่
อ และธรรมชาติ ซึ่
งลวดลายดั
งกล่าว
มั
กเกิดจากเส้นพุ
่งเป็
นหลั
ก เอกลั
กษณ์ของผ้าไทยที่
เด่นชั
ด คือ ไม่นิยมตั
ดแต่งผ้า
มั
กใช้
ทั
้
งผื
น เช่
น ผ้
าขาวม้
า ถุ
งย่
าม ผ้
าซิ่
น โสร่
ง ถ้
าเป็
นผ้
านุ
่
งจะใช้
ผ้
าลาย
แต่
ถ้าเป็
นผ้าห่
มจะใช้ผ้าพื้น
๒) เครื่
องจั
กสาน หมายถึง ภาชนะเครื่
องใช้ประจำบ้านของคนไทย เช่น
ตะกร้
า กระจาด ทำจากวั
ตถุ
ดิ
บในท้
องถิ่
น เช่
น ไผ่
หวาย กระจู
ด ลำเจี
ยก
โดยนำมาจั
กและสาน จึ
งเรี
ยกว่
า เครื่
องจั
กสาน กลวิ
ธี
ในการทำเครื่
องจั
กสาน
ได้
แก่
การถั
ก ผู
ก รั
ด มั
ด ร้
อย โดยใช้
ตอก หวาย เพื่
อให้
เครื่
องจั
กสานคงทน
และคงรู
ปอยู
่
ได้ตามต้องการ
๓) เครื่
องรั
ก หมายถึง หั
ตถกรรมที่
ใช้รั
กเป็
นวั
สดุ
สำคั
ญในการสร้างผลงาน
เช่
น ปิดทองรดน้ำ ภาพกำมะลอ ประดั
บมุ
ก ประดั
บกระจกสี ปั้
นกระแหนะ และ
เขิน รั
กหรือยางรั
ก มีคุ
ณลั
กษณะเป็
นยางเหนียว สามารถเกาะจั
บพื้นของสิ่
งใดสิ่
งหนึ่
ง
ที่
ประสงค์
จะทาหรือถมทั
บ หรือเคลือบผิ
วได้
ดี
มี
คุ
ณสมบั
ติ
ที่
ทำให้
ผิ
วพื ้
น ซึ่
งทา
หรื
อเคลื
อบรั
กเป็
นผิ
วมั
นภายหลั
งรั
กแห้
งสนิ
ท มี
คุ
ณภาพคงทนต่
อความร้
อน
ความชื้น กรดหรือด่
างอ่
อนๆ และยั
งเป็
นวั
สดุ
ที่
ใช้เชื่
อมสมุ
ก หรือสีเข้าด้วยกั
น
๔) เครื่
องปั
้
นดินเผา หมายถึง หั
ตถกรรมที่
ใช้ดินเหนียวเป็
นวั
ตถุ
ดิบหลั
ก
ในการผลิ
ต มี
ทั
้
งชนิ
ดเคลือบและไม่
เคลือบ โดยที่
เนื ้
อดิ
นเหนี
ยวต้
องมี
ส่
วนผสม
ของทรายแม่
น้
ำที่
เป็
นทรายเนื
้
อละเอี
ยดและช่
วยให้
เนื
้
อดิ
นแห้
งสนิ
ทไม่
แตกร้
าว
ดิ
นเหนี
ยวที่
ใช้
ทำเครื่
องปั
้
นดิ
นเผาจากที่
ต่
างๆ ให้
สี
ไม่
เหมือนกั
น เช่
น ดิ
นเหนี
ยว
เกาลินจากลำปาง จะให้เครื่
องปั
้
นดินเผาเป็
นสีขาว ดินเหนียวจากราชบุ
รีให้สีแดง
ดินเหนียวจากด่
านเกวียนให้สีเหลือง น้ำตาลอมม่
วง หรือน้ำเงิน