Page 48 - dcp7

Basic HTML Version

37
การแสดงดิ
เกร์
ฮู
ลู
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
เป็
นการขั
บร้
องของชาวไทยภาคใต้
ใน ๓ จั
งหวั
ได้
แก่
นราธิ
วาส ปั
ตตานี
และยะลา คำ
�ว่
า ดี
เกร์
เป็
นศั
พท์
ภาษา
เปอร์
เซี
ย มี
ความหมาย ๒ ประการ คื
อ ประการแรก หมายถึ
เพลงสวดสรรเสริ
ญพระเจ้
า ประการที่
๒ หมายถึ
ง กลอนเพลง
โต้
ตอบ นิ
ยมเล่
นกั
นเป็
นกลุ่
มหรื
อเป็
นคณะ ส่
วนคำ
�ว่
า “ฮู
ลู
หมายถึ
ง บริ
เวณต้
นลำ
�นํ้
าหรื
อหมู่
บ้
านในชนบทในที่
นี้
อาจหมาย
ถึ
งบริ
เวณต้
นกำ
�เนิ
ดแม่
นํ้
าปั
ตตานี
ที่
มาจากคำ
�เรี
ยกภาษาชาวบ้
าน
ว่
า “ทิ
ศฮู
ลู
”)
ผู้
เล่
นดิ
เกร์
ฮู
ลู
ส่
วนใหญ่
เป็
นผู้
ชาย ประกอบด้
วยนั
กร้
องนำ
�หรื
อ แม่
เพลง ๑–๒ คน ลู
กคู่
๑๐–๑๕ คน นั
กดนตรี
๕– ๖ คน แต่
งกายด้
วยชุ
ดพื้
นเมื
องมุ
สลิ
ม ลู
กคู่
และนั
กดนตรี
แต่
งกายเหมื
อนกั
น ส่
วนแม่
เพลงและนั
กร้
องแต่
งกาย
แตกต่
างจากลู
กคู่
และนั
กดนตรี
เครื่
องดนตรี
ที่
ใช้
ประกอบการแสดง มี
ฆ้
อง ๑ วง (โหม่
งใหญ่
) รำ
�มะนา อย่
างน้
อย
๒ ใบ ลู
กแซ็
ก ๑-๒ คู่
ต่
อมามี
การเพิ่
มเติ
มกรั
บฉาบ โหม่
งคู่
(ฆ้
องคู่
) เข้
าไปด้
วย
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
เริ่
มต้
นแสดงด้
วยการโหมโรง มี
การขั
บบทกาโร๊
ะ เพื
อเป็
นการไหว้
ครู
และทั
กทายเจ้
าภาพรวมถึ
งผู้
ชม
จากนั้
นนั
กร้
องจึ
งร้
องบอกจุ
ดประสงค์
ของงานที่
มาเล่
นเพลงด้
วยเพลงร้
องจั
งหวะต่
างๆ สลั
บกั
บการขั
บบทโต้
ตอบกั
ในเรื่
องเหตุ
การณ์
บ้
านเมื
อง และจบด้
วยการขั
บกลอนลาเรี
ยกว่
า “วาบู
แล” และโหมโรงลา ดิ
เกร์
ฮู
ลู
ไม่
นิ
ยมแสดงเป็
เรื่
องราว ความสนุ
กสนานอยู่
ที่
การขั
บบทโต้
ตอบซึ่
งขึ้
นกั
บปฏิ
ภาณไหวพริ
บของแม่
เพลง
บทบาทของการแสดงดิ
เกร์
ฮู
ลู
นอกจากจะทำ
�หน้
าที่
เป็
นสื่
อให้
ความบั
นเทิ
งแก่
สั
งคมแล้
ว ขนบในการแสดงและ
การใช้
ภาษามลายู
ในการแสดงยั
งสะท้
อนให้
เห็
นถึ
งเอกลั
กษณ์
และอั
ตลั
กษณ์
ของชาวไทยมุ
สลิ
มในแถบจั
งหวั
ดชายแดน
ภาคใต้
ของไทย
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
ที่
ยั
งคงรั
กษาขนบการแสดงแบบโบราณและเป็
นที่
นิ
ยมของคนในท้
องถิ่
น ได้
แก่
คณะมะยะหา
คณะอาเน๊
าะปู
ยู
คณะสลิ
นดงบายู
คณะบุ
หงาตานี
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๒
เรี
ยบเรี
ยงโดย วาที
ทรั
พย์
สิ
การแสดงดิ
เกร์
ฮู
ลู