Page 46 - dcp7

Basic HTML Version

35
ดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
นั
กดนตรี
ชาวลี
ซู
บ้
านห้
วยส้
านลี
ซู
อ.เมื
อง จ.เชี
ยงราย กำ
�ลั
งบรรเลง
เครื่
องดนตรี
ฝู่
ลู
ดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
เป็
นดนตรี
ที่
มี
การสื
บทอดต่
อกั
นมายาวนาน โดยใช้
กระบวนการสื
บทอดแบบ“มุ
ขปาฐะ”ดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
นี้
เป็
นดนตรี
ที่
เกิ
ดขึ้
จากภู
มิ
ปั
ญญาของบรรพบุ
รุ
ษของชาวลี
ซู
มี
ทั้
งเพลงร้
องและเพลงบรรเลงที่
บรรเลง
ผ่
านเครื่
องดนตรี
ภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นที่
มี
การนำ
�วั
สดุ
จากธรรมชาติ
เช่
น ไม้
เนื้
อแข็
ง ไม้
ไผ่
หนั
งสั
ตว์
มาประกอบเป็
นเครื่
องดนตรี
ชนิ
ดต่
างๆ เช่
น มากฺ
วฺ
(จิ้
งหน่
อง) หยื่
อ-ลุ
(ขลุ่
ย)
ซื
อบื
อ (พิ
ณ) และฝู่
ลู
(แคนนํ้
าเต้
า) เป็
นต้
น ส่
วนเนื้
อหาของบทเพลงก็
ได้
มี
การนำ
เอาสภาพวิ
ถี
ชี
วิ
ตประจำ
�วั
น กิ
จกรรมประเพณี
เช่
น การไหว้
บรรพบุ
รุ
ษ การเรี
ยก
ขวั
ญรวมทั้
งการหยอกล้
อมุ
ขตลก การเกี้
ยวพาราสี
กั
นระหว่
างหนุ
มสาว มาประพั
นธ์
เป็
นทำ
�นองเพลงเพื่
อสื่
อความหมายของเรื่
องราวต่
างๆ ออกมาในรู
ปของทำ
�นอง
ชื่
อเพลง และเนื้
อร้
อง
องค์
ความรู้
ด้
านดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
ในปั
จจุ
บั
น พบว่
า ยั
งไม่
ได้
รั
การสนั
บสนุ
นและได้
รั
บความสนใจจากเยาวชนลี
ซู
เท่
าที่
ควร เนื่
องจากอิ
ทธิ
พล
การหลั่
งไหลของวั
ฒนธรรมภายนอกจากสื่
อต่
างๆ การที่
เยาวชนรุ่
นใหม่
ขาด
ความสนใจในมรดกวั
ฒนธรรมของตน การขาดการบู
รณาการหลั
กสู
ตรท้
องถิ่
ให้
เหมาะสมกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นในหลั
กสู
ตร การขาดการรวบรวม
และบั
นทึ
กภู
มิ
ปั
ญญาด้
านนี้
อย่
างเป็
นระบบ เนื่
องจากภู
มิ
ปั
ญญาของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เหล่
านี้
มิ
ได้
ถู
กบั
นทึ
กไว้
เป็
นลายลั
กษณ์
อั
กษร เป็
นความรู้
ที
อยู่
ในตั
วบุ
คคล โดย
เฉพาะภู
มิ
ปั
ญญาทางดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
ในจั
งหวั
ดเชี
ยงรายที่
มี
ผู้
ศึ
กษา
และบั
นทึ
กข้
อมู
ลไว้
ค่
อนข้
างน้
อยมาก
ดนตรี
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ลี
ซู
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทาง
วั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๕
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
ประสิ
ทธิ์
เลี
ยวสิ
ริ
พงศ์
ชาวเขาเผ่
าลี
ซู
ขณะทำ
�กิ
จกรรม