Page 26 - dcp7

Basic HTML Version

15
กาหลอ
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
ดร. ณรงค์
ชั
ย ปิ
ฎกรั
ชต์
กาหลอ เป็
นวงดนตรี
พิ
ธี
กรรมของภาคใต้
ซึ่
งในอดี
ตใช้
ทั้
งงานมงคลและอวมงคล ปั
จจุ
บั
นใช้
เฉพาะงานอวมงคล
เครื่
องดนตรี
ประกอบด้
วย ปี่
กาหลอ ๑ เลา ทน ๑ คู่
และฆ้
องกาหลอ ๒ ใบ การประสมวงปี่
กลองเช่
นนี้
มี
ลั
กษณะ
คล้
ายคลึ
งกั
บวงปี่
กลองของประเทศเพื่
อนบ้
าน
การบรรเลงกาหลอ มี
โรงแสดงโดยเฉพาะและสร้
างตามแบบแผนที่
เชื่
อต่
อๆ กั
นมา เรี
ยกว่
า โรงฆ้
อง มี
เสาจำ
�นวน
๖ ต้
น ไม่
ใช้
ขื่
อ หลั
งคามุ
งด้
วยจากหรื
อทางมะพร้
าวหรื
อวั
สดุ
อื่
นที่
กั
นฝนได้
ส่
วนพื้
นไม่
ยกสู
ง ปู
ด้
วยไม้
กระดาน ตั้
งโรง
ตามแสงตะวั
น เรี
ยกว่
า “ลอยหวั
น” และมี
การตั้
งหิ้
งครู
หมอและผ้
าเพดานไว้
ในโรงแสดง ในวงดนตรี
กาหลอ คนเป่
าปี่
เรี
ยกว่
า“หมอปี
”เป็
นผู้
นำ
�ทำ
�นอง นายทนตี
ทนตามจั
งหวะเพลงปี่
และนายฆ้
อง ตี
ฆ้
องตามจั
งหวะเพลงทน เพลงที่
คณะกาหลอใช้
บรรเลงนั้
นมี
หลายเพลง เช่
น เพลงสร้
อยทอง เพลงจุ
ดไต้
เพลงสุ
ริ
ยั
น เพลงคุ
มพล เพลงทองศรี
เพลงแสงทอง เพลงนกเปล้
า เพลงทอมท่
อม เพลงตั้
งซาก (ศพ) เพลงยายแก่
เพลงโก้
ลม และเพลงซั
ดผ้
า ฯลฯ ซึ่
งเป็
เพลงบรรเลงทั้
งหมด โดยไม่
มี
การขั
บร้
องหรื
อการแสดงอื่
นๆประกอบ
ขนบการบรรเลงเพลงกาหลอเป็
นไปตามความเชื่
อ ได้
แก่
ตอนไหว้
ครู
บรรเลงเพลงสร้
อยทอง เพลงจุ
ดไต้
เพลงสุ
ริ
ยั
น เพลงคุ
มพล เวลานำ
�ศพเคลื่
อนไปที่
สามสร้
าง (เชิ
งตะกอน) วงกาหลอบรรเลงเพลงตั้
งซาก เพลงขอไฟยายแก่
บรรเลงเพื่
อขอไฟจากยายแก่
มาจุ
ดเผาศพ เพลงโก้
ลม (เรี
ยกลม) บรรเลงเพื่
อขอลมให้
มาช่
วยพั
ดกระพื
อไฟให้
ติ
ดดี
ขึ้
เพลงสร้
อย เพลงซั
ดผ้
า บรรเลงตอนซั
ดผ้
าข้
ามโลงศพ ขณะจุ
ดไฟเผาศพตอนกลางคื
นใช้
เพลงทองศรี
ตอนเช้
าใช้
เพลงนกเปล้
า เพลงแสงทอง จำ
�นวนเพลงที่
ใช้
บรรเลงของวงกาหลอแต่
ละคณะมี
ความแตกต่
างกั
นไปตามความเชื่
และครู
ที่
ได้
สั่
งสอนกั
นมา เมื่
อจบกระบวนการประโคมกาหลอ หั
วหน้
าวงจึ
งทำ
�พิ
ธี
ควํ่
าฆ้
อง แล้
วหงายฆ้
อง จากนั้
จึ
งนำ
�นํ้
าเทใส่
ลงในฆ้
อง เป็
นเสมื
อนนํ้
ามนต์
ที่
นำ
�ไปใช้
ปั
ดเสนี
ยดจั
ญไรได้
หลั
งจากนั้
นจึ
งเก็
บหิ้
งครู
หมอและผ้
าเพดาน
จนเรี
ยบร้
อยแล้
วจึ
งออกจากโรงเมื่
อเสร็
จสิ้
นการแสดง
ในอดี
ตวงกาหลอเป็
นที่
นิ
ยมทั
วไปในภาคใต้
แต่
ใน
ปั
จจุ
บั
นความนิ
ยมลดลง เนื่
องจากวงกาหลอเป็
นวงดนตรี
บรรเลงในพิ
ธี
กรรมที่
มี
ข้
อปฏิ
บั
ติ
และข้
อห้
ามเคร่
งครั
ดมากมาย
จึ
งทำ
�ให้
มี
ข้
อจำ
�กั
ดในการบรรเลงและถ่
ายทอดในอนาคต
จึ
งมี
โอกาสสู
งมากที่
วงกาหลอจะสู
ญหายไปจากสั
งคมและ
วั
ฒนธรรมภาคใต้
กาหลอ ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญา
ทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๕