Page 155 - dcp7

Basic HTML Version

144
ละครชาตรี
ได้
แพร่
หลายเป็
นที่
นิ
ยมอยู่
ในจั
งหวั
ดภาคใต้
ของไทยก่
อน จากนั้
นจึ
งเข้
าสู่
กรุ
งเทพ ๓ ครั้
งด้
วยกั
น คื
ครั้
งแรกเมื่
อ พ.ศ. ๒๓๑๒ เมื่
อสมเด็
จพระเจ้
ากรุ
งธนบุ
รี
เสด็
จกรี
ฑาทั
พไปปราบเจ้
านครศรี
ธรรมราชและกวาดต้
อน
ผู้
คนมาเมื
องหลวงพร้
อมด้
วยพวกละคร ครั้
งที่
๒ เมื่
อ พ.ศ. ๒๓๒๓ ในการฉลองพระแก้
วมรกต โปรดให้
ละครของ
เจ้
านครฯ ขึ้
นมาแสดงและได้
แสดงประชั
นกั
บละครผู้
หญิ
งของหลวงด้
วย และครั้
งที่
๓ เมื่
อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ในสมั
ยรั
ชกาลที
สมเด็
จเจ้
าพระยาบรมมหาประยุ
รวงศ์
(ดิ
ศ บุ
นนาค) สมั
ยที่
ดำ
�รงตำ
�แหน่
งเป็
นเจ้
าพระยาพระคลั
ง ได้
กรี
ฑาทั
พลงไป
ปราบปรามระงั
บเหตุ
การณ์
ทางหั
วเมื
องภาคใต้
ขากลั
บกรุ
งเทพฯ มี
ผู
ที่
มี
ความสามารถในการแสดงละครชาตรี
อพยพ
ติ
ดตามกลั
บมาด้
วย และได้
รวบรวมกั
นตั้
งเป็
นคณะละครรั
บเหมา แสดงในงานต่
างๆ ต่
อมาจนเป็
นที่
ขึ้
นชื่
อ และฝึ
กหั
สื
บต่
อกั
นมาจนถึ
งทุ
กวั
นนี้
ละครชาตรี
มี
องค์
ประกอบที่
สำ
�คั
ญ ดั
งนี้
๑. โรง ละครชาตรี
ในครั้
งโบราณใช้
เสา ๔ ต้
น ปั
ก ๔ มุ
ม เป็
นสี่
เหลี่
ยมจั
ตุ
รั
ส มี
เตี
ยง ๑ เตี
ยง และเสากลางซึ่
ถื
อว่
าเป็
นเสามหาชั
ยอี
ก ๑ เสาเท่
านั้
น ไม่
มี
ฉาก และมี
หลั
งคาไว้
บั
งแดดบั
งฝน
๒. ละครชาตรี
แต่
โบราณไม่
สวมเสื้
อเพราะทุ
กตั
วใช้
ผู้
ชายแสดง ตั
วยื
นเครื่
องซึ่
งเป็
นตั
วที่
แต่
งกายดี
กว่
าตั
วอื่
ก็
นุ่
งสนั
บเพลา นุ่
งผ้
า คาดเจี
ยรบาด มี
ห้
อยหน้
า ห้
อยข้
าง สวมสั
งวาล ทั
บทรวง กรองคอบนตั
วเปล่
า บนศี
รษะสวมเทริ
ต่
อมาเมื่
อมี
ผู้
แสดงเป็
นหญิ
ง การแต่
งกายจึ
งมั
กใช้
แบบสวมเสื้
ออนุ
โลมอย่
างละครนอก
๓. วิ
ธี
แสดง เริ่
มต้
นด้
วยการทำ
�พิ
ธี
บู
ชาครู
เบิ
กโรงปี่
พาทย์
โหมโรงชาตรี
ร้
องประกาศหน้
าบท จากนั้
นตั
วยื
นเครื่
อง
ออกมารำ
�ซั
ดหน้
าบทตามเพลง โดยการรำ
�เวี
ยนซ้
ายซึ่
งในสมั
ยโบราณขณะที่
รำ
�ตั
วรำ
�จะต้
องว่
าอาคมไปด้
วยเพื่
อป้
องกั
เสนี
ยดจั
ญไร เรี
ยกว่
า “ชั
กยั
นต์
” เริ่
มจั
บเรื่
อง ตั
วละครจะขึ้
นนั่
งเตี
ยงแสดง เมื่
อเข้
าเรื่
อง ตั
วละครต้
องร้
องเองไม่
มี
ต้
นเสี
ยงตั
วละครตั
วอื่
นๆ ร้
องรั
บก็
เป็
นลู
กคู
และเมื่
อการแสดงจบลงจะรำ
�ซั
ดอี
กครั
งหนึ่
ง แต่
ครั้
งนี้
เป็
นการว่
าอาคม
ถอยหลั
งและรำ
�เวี
ยนขวา เรี
ยกว่
า “คลายยั
นต์
” เป็
นการถอนอาถรรพณ์
ทั้
งปวง
๔. เครื่
องดนตรี
ที่
ใช้
ในการแสดง ประกอบด้
วย ปี่
สำ
�หรั
บทำ
�ทำ
�นอง ๑ เลา โทน ๑ ใบ กลองชาตรี
๒ ใบ และ
ฆ้
อง ๑ คู่
ไม่
มี
ปี่
พาทย์
ระนาดเอกอย่
างที่
เห็
นในปั
จจุ
บั
ละครชาตรี
ได้
ถู
กปรั
บปรุ
งเปลี่
ยนแปลงเรื่
อยมาตามยุ
คสมั
ย เช่
น การร้
องดำ
�เนิ
นเรื่
อง จากเดิ
มที่
เป็
นทำ
�นองของ
โนรา เช่
น เพลงหน้
าแตระ เพลงร่
ายชาตรี
เปลี่
ยนมาร้
องเพลงไทยภาคกลางทำ
�นอง ๒ ชั้
นง่
ายๆ มี
การเพิ่
มระนาดเอก
เข้
ามาเพื่
อจะได้
บรรเลงขั
บร้
องและให้
ตั
วละครรำ
�ได้
ดี
ขึ้
น ไม่
รำ
�ซั
ดชาตรี
ไหว้
ครู
แต่
ใช้
กระบวนรำ
�เพลงช้
า เพลงเร็
และเพลงลาแทน ซึ่
งในวงการละครรำ
�แก้
บนเรี
ยกว่
า “รำ
�ถวายมื
อ” ดั
งนั้
น โดยสภาพความเป็
นจริ
งแล้
ว “ละครชาตรี
แบบดั้
งเดิ
มได้
สู
ญหายไปจากวงการละครรำ
�ของไทยมาไม่
น้
อยกว่
า ๔๐ ปี
แล้
ว แต่
ละครชาตรี
ที่
เรี
ยกกั
นอยู่
ในปั
จจุ
บั
มี
สภาพเป็
นละครรำ
�ที่
ใช้
สำ
�หรั
บแก้
บนเท่
านั้
น ตั
วอย่
างคณะละครชาตรี
ที่
โดดเด่
น เช่
น คณะอุ
ดมศิ
ลป์
กระจ่
างโชติ
จั
งหวั
ดพระนครศรี
อยุ
ธยา คณะเบญจา ศิ
ษย์
ฉลองศรี
จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
ละครชาตรี
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๒