Page 145 - dcp7

Basic HTML Version

134
รำ
�ประเลง
เรี
ยบเรี
ยงโดย ประเมษฐ์
บุ
ณยะชั
รำ
�ประเลง เป็
นชื่
อระบำ
�เบิ
กโรงของละครไทย มี
มาแต่
โบราณตั้
งแต่
ครั้
งกรุ
งศรี
อยุ
ธยา เข้
าใจว่
าตรงกั
บการแสดง
ที่
เรี
ยกว่
า “ปรุ
วรงค” ของละครสั
นสกฤต แต่
ไม่
เป็
นที
ยื
นยั
นแน่
ชั
ด ประเลง เป็
นระบำ
�คู่
๒ คน ผู้
รำ
�แต่
งตั
วเช่
นเดี
ยวกั
กั
บนายโรงละครไทย คื
อการแต่
งกายยื
นเครื่
องพระแต่
สวมหั
วเทวดา ศี
รษะโล้
น มื
อถื
อกำ
�หางนกยู
งข้
างละมื
อ ไม่
มี
บท
ขั
บร้
อง มี
แต่
เพลงหน้
าพาทย์
ประกอบจั
งหวะการรำ
� เรี
ยงลำ
�ดั
บดั
งนี้
คื
อ เพลงกลม เพลงชำ
�นาญ เพลงกลม (ครั้
งที่
๒)
และเพลงเชิ
ด เพลงหน้
าพาทย์
ดั
งกล่
าว มี
ความหมายที่
วิ
เคราะห์
ได้
ดั
งนี้
เพลงกลม หมายถึ
ง เทวดาสำ
�คั
ญเดิ
นทางมายั
งมณฑลพิ
ธี
เพลงกลมใช้
ประกอบการแสดงของเทพเจ้
าสำ
�คั
เช่
น พระนารายณ์
พระอิ
นทร์
พระวิ
สุ
กรรม เงาะในเรื่
องสั
งข์
ทอง ซึ่
งถื
อว่
าเป็
นรู
ปกายสิ
ทธิ์
เพลงชำ
�นาญ หมายถึ
ง เทวดาประสาทพรชั
ยมงคล ให้
กั
บผู้
ชม สถานที่
แสดง
เพลงกลม (ครั้
งที่
๒) หมายถึ
ง เทวดาแสดงความรื่
นเริ
งยิ
นดี
(วิ
เคราะห์
จากกระบวนท่
ารำ
�ที่
ปรากฏ)
เพลงเชิ
ด หมายถึ
ง เทวดาเหล่
านั้
นเสด็
จกลั
บสู่
ทิ
พยวิ
มาน
กระบวนท่
ารำ
�ที่
ปรากฏและสื
บทอดอยู่
ทุ
กวั
นนี้
เป็
นรู
ปแบบที่
สื
บทอดโดยตรงจากละครหลวงของพระบาท
สมเด็
จพระพุ
ทธเลิ
ศหล้
านภาลั
ย ผ่
านมายั
งคณะละครวั
งสวนกุ
หลาบ ของสมเด็
จพระเจ้
าบรมวงศ์
เธอ เจ้
าฟ้
ากรมหลวง
นครราชสี
มา จนถึ
งสถาบั
นบั
ณฑิ
ตพั
ฒนศิ
ลป์
และกรมศิ
ลปากร
จุ
ดประสงค์
สำ
�คั
ญในการแสดงรำ
�ประเลง นอกจากจะเป็
นจารี
ตประเพณี
การแสดงเบิ
กโรงรู
ปแบบราชสำ
�นั
กแล้
ยั
งมี
ความเชื่
อว่
าเป็
นการแสดงที่
ก่
อให้
เกิ
ดสวั
สดิ
มงคล ขจั
ดอุ
ปสรรค ให้
การแสดงในคราวนั้
นๆ ประสบผลสำ
�เร็
ทุ
กประการ
ปั
จจุ
บั
นการแสดงชุ
ดนี้
มี
การรั
กษาไว้
ในสถาบั
นการศึ
กษาของสถาบั
นบั
ณฑิ
ตพั
ฒนศิ
ลป์
และกรมศิ
ลปากร
แต่
โอกาสที่
นำ
�ออกแสดงเผยแพร่
มี
น้
อยมาก เนื่
องจากการแสดงในปั
จจุ
บั
น ไม่
นิ
ยมการแสดงเบิ
กโรงก่
อนการแสดง
เรื่
องใหญ่
ๆ แต่
นิ
ยมแสดงเรื่
องใหญ่
เรื่
องเดี
ยว
รำ
�ประเลง ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๖