Page 25 - dcp6

Basic HTML Version

14
ที่
ปราสาทหิ
นพิ
มาย ตรงบริ
เวณปรางค์
ท้
าวพรหมทั
ตเคยมี
รู
ปประติ
มากรรมอยู่
๓ รู
ป ชาวบ้
านเรี
ยกกั
นว่
รู
ปท้
าวพรหมทั
ต รู
ปพระปาจิ
ต และรู
ปนางอรพิ
มพ์
ปั
จจุ
บั
นเหลื
อแต่
รู
ปพระปาจิ
ตเท่
านั้
น อั
นที่
จริ
งรู
ปปั้
นที่
ชาวบ้
าน
เข้
าใจว่
าเป็
นรู
ปท้
าวพรหมทั
ตนั้
น แท้
จริ
งคื
“พระชั
ยพุ
ทธมหานาถ”
ซึ่
งเป็
นพระพุ
ทธ รู
ปศิ
ลารู
ปร่
างเหมื
อน องค์
จริ
ของพระเจ้
าชั
ยวรมั
นที่
๗ ที่
พระองค์
ได้
ส่
งไปไว้
ตามเมื
องสำ
�คั
ญต่
างๆ ๒๒ เมื
อง รู
ปนางอรพิ
มพ์
คื
อ รู
“พระนางชย
ราชเทวี
พระมเหสี
ของพระเจ้
าชั
ยวรมั
นที่
๗ ในรู
ปนางปรั
ชญาปารมิ
ตา เมื
องพิ
มาย หรื
อในจารึ
ก เรี
ยก
“วิ
มายปุ
ระ”
เป็
นชุ
มชนขนาดใหญ่
ที่
มี
ผู้
คนอาศั
ยอยู่
มาตั้
งแต่
สมั
ยก่
อนประวั
ติ
ศาสตร์
นิ
ทานเรื่
องนี้
นอกจากจะเป็
นตำ
�นานของปราสาทหิ
นพิ
มายแล้
ว ชื่
อสถานที่
ต่
างๆในเรื่
องที่
อยู่
ในเส้
นทางจาก
บริ
เวณลำ
�ปลายมาศไปจนถึ
งเมื
องพิ
มาย ยั
งเป็
นเส้
นทางโบราณเก่
าแก่
ที่
แสดงร่
องรอยประวั
ติ
ศาสตร์
ของอาณาจั
กร
ขอมโบราณหรื
อเจนละในช่
วงปลายพุ
ทธศตวรรษที่
๑๑-ต้
นศตวรรษที่
๑๒ กษั
ตริ
ย์
คนสำ
�คั
ญของเจนละ คื
เจ้
าชายจิ
ตรเสนะ
หรื
อมเหนทรวรมั
น ผู้
นั
บถื
อศาสนาพราหมณ์
ไศวนิ
กายที่
ขยายอำ
�นาจจากบุ
รี
รั
มย์
สุ
ริ
นทร์
ขึ้
นมา
ทางที่
ราบสู
งโคราช หลั
งยึ
ดอาณาจั
กรฟู
นั
นซึ่
งเป็
นอาณาจั
กรของกษั
ตริ
ย์
นั
บถื
อพุ
ทธศาสนาในปลายพุ
ทธศตวรรษที่
๑๑ พระองค์
ยกทั
พขึ้
นไปตามลำ
�นํ้
าโขง ปราบเมื
องต่
างๆของเจนละโดยเฉพาะเมื
องเศรษฐปุ
ระเมื
องหลวงในขณะนั้
เรื่
องราวของ พระเจ้
าจิ
ตรเสนกษั
ตริ
ย์
นั
กรบที่
ยกทั
พขึ้
นปราบบ้
านเมื
องตามลำ
�นํ้
ามู
น่
าจะเป็
นที่
มาของ
พระปาจิ
ตในตำ
�นานนิ
ทานชาวบ้
าน
นางอรพิ
มพ์
จะมี
ตั
วตนจริ
งหรื
อไม่
ประวั
ติ
ศาสตร์
มิ
ได้
บั
นทึ
กไว้
แต่
เห็
นเค้
าว่
าเมื
อง
พิ
มายเป็
นกลุ่
มที่
นั
บถื
อพุ
ทธศาสนาอยู่
ก่
อนที่
ศาสนาฮิ
นดู
-ไศวนิ
กายจะเข้
ามายึ
ดครอง นางอรพิ
มพ์
อาจเป็
นอุ
ปมาของ
ดิ
นแดนชาวพุ
ทธในลุ่
มแม่
นํ้
ามู
ลที่
พระเจ้
าจิ
ตรเสนได้
ครอบครองก็
เป็
นได้
เช่
นเดี
ยวกั
บนางสี
ดาในวรรณคดี
เรื่
อง
รามายณะของอิ
นเดี
แม้
นิ
ทานเรื่
องนี้
จะไม่
แพร่
หลายไปยั
งภู
มิ
ภาคอื่
นมากนั
ก แต่
ในสมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
ก็
มี
สมุ
ดไทย ๔ เล่
ม ชื่
ปาจิ
ตต
กุ
มารกลอนอ่
าน
พบที่
พระราชวั
งหลั
งกรุ
งธนบุ
รี
สั
นนิ
ษฐานว่
าคงได้
มาจากเมื
องโคราช เพราะพระเจ้
าหลานเธอ
กรมพระอนุ
รั
กษ์
เวศร กรมพระราชวั
งบวรถานพิ
มุ
ข หรื
อพระยาสุ
ริ
ยอภั
ย เดิ
มเคยเป็
นเจ้
าเมื
องโคราชมาก่
อน ส่
วนคนใน
ท้
องถิ่
นก็
ยั
งคงเล่
านิ
ทานนางอรพิ
มพ์
-พระปาจิ
ตในรู
ปตำ
�นานและร้
องเล่
าเป็
นเพลงโคราช นอกจากนี้
ช่
างเขี
ยน
ท้
องถิ่
นยั
งได้
นำ
�เหตุ
การณ์
ตอนเณรพายเรื
อมารั
บนางข้
ามฟากแม่
นํ้
าไปวาดไว้
ที่
บานแผละ หน้
าต่
างบานที่
๑ ซ้
ายมื
พระประธาน ในสิ
ม (พระอุ
โบสถ) วั
ดทุ่
งศรี
เมื
อง อำ
�เภอเมื
อง จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
และจิ
ตรกรรมฝาผนั
งด้
านนอก
ของสิ
มวั
ดบ้
านยาง อำ
�เภอบรบื
อ จั
งหวั
ดมหาสารคาม
ปั
จจุ
บั
นได้
มี
การนำ
�เรื่
องนี้
มาใช้
ในการท่
องเที่
ยวเชิ
งวั
ฒนธรรมหน่
วยงานในท้
องถิ่
นมี
การส่
งเสริ
มเส้
นทาง
ท่
องเที่
ยวที่
อำ
�เภอพิ
มาย จั
งหวั
ดนครราชสี
มา ตามรอยนิ
ทานเรื่
องท้
าวปาจิ
ต นางอรพิ
ม โดยเริ่
มจากไปลงเรื
ออี
โปง
ที่
ท่
านางสระผม ลองนั่
งเกวี
ยนเที
ยมวั
วที่
ประตู
เมื
องพิ
มาย ไปเยี่
ยมชมวั
งท้
าวพรหมทั
ตที่
ปราสาทหิ
นพิ
มาย และเมรุ
พรหมทั
ตที่
อยู่
ใกล้
กั
น จากนั้
นไปวั
ดสระเพลงชมตู้
พระธรรม ที่
แกะสลั
กเป็
นเรื่
องราวปาจิ
ต อรพิ
ม และดู
การทำ
�หมี่
พิ
มาย
หรื
อลองชิ
มที่
ไทรงาม ต่
อไปเยี่
ยมท้
าวพรหมทั
ต ท้
าวปาจิ
ต และนางอรพิ
ม ต่
อที่
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
แห่
งชาติ
พิ
มาย นอกจากนี้
ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ ยั
งมี
การนำ
�นิ
ทานเรื่
องท้
าวปาจิ
ต-อรพิ
มพ์
มาจั
ดการแสดงแสงเสี
ยง ในงาน
“ท่
องเที่
ยวปราสาทเมื
องตํ่
ตามรอยอารยธรรมขอมโบราณ”
เพื
อส่
งเสริ
มและประชาสั
มพั
นธ์
การท่
องเที
ยวอำ
�เภอประโคนชั
ย จั
งหวั
ดบุ
รี
รั
มย์
อี
กด้
วย
นิ
ทานท้
าวปาจิ
ต-อรพิ
มพ์
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช
๒๕๕๘