Page 79 - dcp5

Basic HTML Version

70
ภาษาแสก
เรี
ยบเรี
ยงโดย ดุ
จฉั
ตร จิ
ตบรรจง และ รองศาสตราจารย์
สุ
วั
ฒนา เลี่
ยมประวั
ติ
ในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อของประเทศไทยซึ่
งเป็
นภู
มิ
ภาคที่
มี
ความหลากหลายทางด้
านชาติ
พั
นธุ์
ภาษา
และวั
ฒนธรรม ภาษาแสกเป็
นภาษาหนึ่
งในภาษาตระกู
ลไทกลุ่
มเหนื
อ (Northern Tai Group) ตามการแบ่
งของ
นั
กภาษาศาสตร์
คื
อ ฟั
งกวยลี
(Fang Kuei Li 1959) ปกติ
ภาษาตระกู
ลไทกลุ่
มเหนื
อจะมี
พู
ดในประเทศจี
นทั้
งหมดแต่
ภาษาแสกเป็
นภาษาไทกลุ่
มเหนื
อเพี
ยงภาษาเดี
ยวที่
มี
ผู้
พู
ดอาศั
ยอยู่
ในเขตพื้
นที่
ของประเทศสาธารณรั
ฐประชาธิ
ปไตย
ประชาชนลาวและประเทศไทยซึ่
งเป็
นพื้
นที่
ของผู้
พู
ดภาษาตระกู
ลไทกลุ่
มตะวั
นตกเฉี
ยงใต้
(Southwestern Tai
Group)
ชาวแสกในประเทศไทยเล่
าต่
อ ๆ กั
นมาว่
าถิ่
นฐานเดิ
มของชาวแสกอยู่
ในประเทศเวี
ยดนาม ต่
อมาได้
ฆ่
ช้
างเผื
อกของกษั
ตริ
ย์
เวี
ยดนามเพื่
อนำ
�มาเป็
นอาหาร เมื่
อกษั
ตริ
ย์
เวี
ยดนามทราบเรื
อง พระองค์
โปรดฯ ให้
ชาวแสกชดใช้
เงิ
นจำ
�นวนมากเกิ
นกว่
าที่
ชาวแสกจะหามาได้
แต่
ได้
มี
ข้
าราชการชาวเวี
ยดนามคนหนึ่
งที่
ชาวแสกเรี
ยกว่
า “องค์
มู่
” ให้
ชาวแสกยื
มเงิ
นเพื่
อนำ
�ไปชดใช้
แก่
กษั
ตริ
ย์
เวี
ยดนาม ชาวแสกจึ
งเคารพนั
บถื
อและสำ
�นึ
กในบุ
ญคุ
ณขององค์
มู่
มาก หลั
จากเหตุ
การณ์
นั้
นชาวแสกก็
อพยพเข้
ามาอยู่
ในประเทศไทยที
บ้
านอาจสามารถ และยั
งคงระลึ
กถึ
งบุ
ญคุ
ณขององค์
มู่
อยู่
เสมอ โดยชาวแสกเชื่
อว่
าเมื่
อองค์
มู่
สิ้
นชี
วิ
ตลงวิ
ญญาณขององค์
มู่
ก็
ตามมาปกปั
กรั
กษาชาวแสกที่
บ้
านอาจสามารถ
ชาวแสกที่
บ้
านอาจสามารถจึ
งสร้
างศาลขึ้
นที่
ริ
มแม่
นํ้
าโขงและทำ
�พิ
ธี
บวงสรวงวิ
ญญาณขององค์
มู่
เป็
นประจำ
�ทุ
กปี
ผู้
เฒ่
าผู้
แก่
ชาวแสกเล่
าว่
าเดิ
มชาวแสกมี
วั
ฒนธรรมประเพณี
หลายอย่
างที่
แตกต่
างไปจากชาวไทยอี
สานและชาวไทยที่
อื่
นๆ
แต่
ปั
จจุ
บั
นชาวแสกมี
วั
ฒนธรรมและประเพณี
ที่
คล้
ายคลึ
งกั
บคนไทยในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อมาก ประเพณี
ที่
ถื
อได้
ว่
เป็
นลั
กษณะเฉพาะของชาวแสกคื
อ ประเพณี
สั
งเวยผี
หรื
อเหลี่
ยงเดน จั
ดในวั
นขึ้
น ๒ คํ่
า เดื
อน ๓ ของทุ
กปี
ชาวแสกที่
บ้
านอาจสามารถจะเตรี
ยมอาหารไปสั
งเวยผี
ที่
เดนหรื
อศาลเจ้
าประจำ
�หมู่
บ้
าน เสร็
จแล้
วจะนำ
�อาหารเหล่
านั้
นมาปรุ
รสชาติ
ใหม่
แล้
วมารั
บประทานร่
วมกั
น หลั
งจากนั้
นจะมี
การเต้
นรำ
�ถวายเรี
ยกว่
า “การเต้
นสาก” โดยในการเต้
นจะมี
ผู้
หญิ
ง ๑๐ คู่
นั่
งหั
นหน้
าเรี
ยงกั
นเป็
นแถวถื
อไม้
พลองตี
เป็
นจั
งหวะ ส่
วนผู้
เต้
นจั
บคู่
กั
นเต้
นไปตามจั
งหวะในระหว่
างช่
อง
ไม้
พลอง ตามปกติ
การเต้
นสากจะเต้
นกั
นปี
ละครั้
งในวั
นสั
งเวยผี
เท่
านั้
ปั
จจุ
บั
นในประเทศไทยมี
จำ
�นวนผู้
พู
ดภาษาแสกประมาณ ๓,๐๐๐ กว่
าคนใน ๔ หมู่
บ้
านของจั
งหวั
ดนครพนม
โดยมี
บ้
านบะหว้
า ตำ
�บลท่
าเรื
อ อำ
�เภอนาหว้
า เป็
นหมู่
บ้
านหลั
กที่
ยั
งคงใช้
ภาษาแสกในชี
วิ
ตประจำ
�วั
น ภาษาแสกจึ
งถู
จั
ดให้
เป็
นภาษาที่
อยู่
ในภาวะวิ
กฤตใกล้
สู
ญหาย
จากงานวิ
จั
ยด้
านภาษาศาสตร์
พบว่
า ภาษาแสกที่
บ้
านบะหว้
า ตำ
�บลท่
าเรื
อ อำ
�เภอนาหว้
า จั
งหวั
ดนครพนม มี
พยั
ญชนะต้
นเดี่
ยว ๒๑ หน่
วยเสี
ยง พยั
ญชนะต้
นควบกลํ้
า ๗ หน่
วยเสี
ยง ลั
กษณะเด่
นคื
อเสี
ยงพยั
ญชนะต้
นเดี่
ยวที่
มี
ลั
กษณะเป็
นเสี
ยงก้
อง/ฅ/ เช่
นคำ
�ว่
ฅอ
= คอ
ฅํ่
= คํ่
า พยั
ญชนะควบกลํ้
า /ถร/ /บล/ และ /มล/ เช่
นคำ
�ว่
เถรา
=
หั
เถรี่
ยว
= รี
เบรี๋
ยน
= เดื
อน (พระจั
นทร์
)
บรี๋
= ดี
(อวั
ยวะ)
มราด
= จื
แมร็
= เมล็
ด มี
เสี
ยงพยั
ญชนะท้
าย