Page 73 - dcp5

Basic HTML Version

64
ภาษาเลอเวื
อะ
เรี
ยบเรี
ยงโดย มยุ
รี
ถาวรพั
ฒน์
เลอเวื
อะ เป็
นกลุ่
มชนดั้
งเดิ
มที่
อาศั
ยอยู่
ในดิ
นแดนทางภาคเหนื
อของประเทศไทยมาเป็
นเวลานาน พบการตั้
ถิ่
นฐานหนาแน่
นอยู่
ในบริ
เวณหุ
บเขาตามแนวตะเข็
บของจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
และแม่
ฮ่
องสอน เช่
น อำ
�เภอแม่
แจ่
ม อำ
�เภอ
อมก๋
อย อำ
�เภอฮอด จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
และ อำ
�เภอแม่
สะเรี
ยง อำ
�เภอแม่
ลาน้
อย จั
งหวั
ดแม่
ฮ่
องสอน คำ
�ว่
า “ละเวื
อะ”
“ลเวื
อะ” และ “เลอเวื
อะ” เป็
นคำ
�เรี
ยกที่
กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ใช้
เรี
ยกตนเอง และเป็
นคำ
�ที่
เพิ่
งเริ่
มใช้
กั
นอย่
างแพร่
หลายเมื่
ไม่
นานมานี
ที่
ผ่
านมางานวิ
จั
ยส่
วนใหญ่
เรี
ยกกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
นี
ว่
า “ลั
วะ” และ “ละว้
า” ปั
จจุ
บั
นเจ้
าของภาษาชอบ
คำ
�ว่
า “เลอเวื
อะ” มากที่
สุ
ด เนื่
องจากเป็
นคำ
�ที่
ใช้
เรี
ยกตนเองและภาษาของตนเอง จากการสำ
�รวจของโครงการแผนที่
ภาษากลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ในประเทศไทย พบว่
า มี
ผู้
พู
ดภาษานี
ประมาณ ๕,๐๐๐ คน (สุ
วิ
ไล เปรมศรี
รั
ตน์
และคณะ, ๒๕๔๗)
ภาษานี้
จั
ดอยู่
ในตระกู
ลออสโตรเอเชี
ยติ
ก (Austroasiatic) สาขามอญ-เขมร (Mon-Khmer) สาขาย่
อยปะหล่
อง-ว้
(Palaung-Wa)
ภาษาเลอเวื
อะ มี
สำ
�เนี
ยงท้
องถิ่
นต่
างๆ กั
น อาทิ
สำ
�เนี
ยงบ้
านป่
าแป๋
สำ
�เนี
ยงบ้
านละอุ
บ สำ
�เนี
ยงบ้
านบ่
อหลวง
เป็
นต้
น ภาษาเลอเวื
อะเป็
นภาษาที่
ไม่
ใช้
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยง (register) หรื
อวรรณยุ
กต์
(tone) แสดงนั
ยสำ
�คั
ญทาง
ความหมาย โดยเฉพาะสำ
�เนี
ยงท้
องถิ
นบ้
านป่
าแป๋
เป็
นสำ
�เนี
ยงที
ยั
งคงลั
กษณะดั
งเดิ
มทางภาษาของตระกู
ลออสโตรเอเชี
ติ
กไว้
ได้
มาก กล่
าวคื
อ มี
หน่
วยเสี
ยงพยั
ญชนะต้
นเดี่
ยว (๓๗ ตั
ว) พยั
ญชนะต้
นที่
สามารถไปควบสนิ
ทกั
บตั
วอื่
นนอกจาก
ร ล ว แล้
วยั
งมี
ย ด้
วย เช่
น กยั
ก “ควาย” พยุ
“ผ้
าห่
ม” หน่
วยเสี
ยงสระเดี่
ยว (๙ ตั
ว) และสระเรี
ยง (๑๔ ตั
ว) เช่
เลอ-อิ
จ “หมู
” เมอ-อุ
ก “วั
ว” พยั
ญชนะสะกด (๑๐ ตั
ว) โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งการใช้
ตั
วสะกด จ ญ และ ฮ ไวยากรณ์
ภาษาเลอเวื
อะโดยทั่
วไปมี
ลั
กษณะเรี
ยงคำ
�แบบประธาน – กริ
ยา – กรรม เช่
นเดี
ยวกั
บภาษากลุ่
มมอญ-เขมรอื่
นๆ เช่
ประโยคว่
กวนโดะ โซม อา-โอบ
<เด็
ก-กิ
น-ข้
าว> = เด็
กกิ
นข้
าว ลั
กษณะไวยากรณ์
ที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
คื
อลั
กษณะ
ประโยคคำ
�ถาม เช่
อั
ม-กอ-เปอะ
<ไหม-สบาย-คุ
ณ> = คุ
ณสบายดี
ไหม
ปะ-เออ-อิ
ญ-เปอะ - เ’นอ-อุ
ม - นาทู
ม?
<คุ
ณ-มา-คุ
ณ-จาก-ที่
ไหน> = คุ
ณไปไหนมา ประโยคปฏิ
เสธ เช่
ญื
ม - เตอ-อู
- โซม
<อร่
อย-ไม่
-กิ
น> = กิ
นไม่
อร่
อย
แกฮ-โซม-เตอ-อู
<ได้
-กิ
น-ไม่
> = กิ
นไม่
ได้
เป็
นต้
นอกจากด้
านภาษาแล้
ว ชาวเลอเวื
อะยั
งมี
โครงสร้
างทางสั
งคมที่
น่
าสนใจ คื
อ มี
ซะมาง = ขุ
น ทำ
�หน้
าที่
ควบคุ
กฎทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม ซึ่
งมี
ส่
วนทำ
�ให้
สั
งคมคนเลอเวื
อะเป็
นสั
งคมที่
มี
ความสงบเรี
ยบร้
อย และมี
ความเชื่
อว่
าเป็
ผู้
ที่
สื
บเชื้
อสายมาจากขุ
นหลวงวิ
ลั
งคะ มี
นิ
ทานหลายเรื่
องที่
สะท้
อนความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างคนไทกั
บคนเลอเวื
อะ มี
เลอ
ซอมแล = วรรณกรรมมุ
ขปาฐะที่
มี
เนื้
อหาเกี่
ยวกั
บการสั่
งสอน การเกี้
ยวพาราสี
ระหว่
างชาย-หญิ
ง การแต่
งกายที่
เป็
เอกลั
กษณ์
การทำ
�นาแบบขั้
นบั
นได ประเพณี
ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมต่
างๆ เช่
น การแต่
งงาน การขึ้
นบ้
านใหม่
งานศพ