Page 67 - dcp5

Basic HTML Version

58
ปั
จจุ
บั
นทรั
พยากรธรรมชาติ
ในป่
าที่
เป็
นฐานของวั
ฒนธรรมมลาบรี
ได้
ถู
กทำ
�ลายลงอย่
างมากกระทั่
งไม่
เพี
ยงพอที่
จะสามารถดำ
�รงชี
วิ
ตแบบหาของป่
า-ล่
าสั
ตว์
ได้
อี
ก ปั
จจุ
บั
น ชาวมลาบรี
ได้
เปลี
ยนแปลงวิ
ถี
ชี
วิ
ตมายึ
ดอาชี
พรั
บจ้
างปลู
ข้
าวโพดเป็
นแรงงาน มี
การจั
ดตั
งหมู่
บ้
านและที่
อยู่
อาศั
ยเป็
นหลั
กแหล่
ง ความเปลี
ยนแปลงอย่
างใหญ่
หลวงของมลาบรี
นี้
ทำ
�ให้
มลาบรี
ต้
องเผชิ
ญกั
บการปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมที่
ค่
อนข้
างยากลำ
�บาก ความไม่
รู้
เท่
าทั
นโลก ความไม่
สามารถ
พึ่
งตั
วเองได้
ปั
ญหาสิ
ทธิ
มนุ
ษยชน การท่
องเที่
ยวชนเผ่
า สุ
ขภาพอนามั
ย การเสื่
อมถอยของภู
มิ
ปั
ญญาและวั
ฒนธรรม
ความเครี
ยด หวาดระแวง และมี
สถิ
ติ
การพยายามฆ่
าตั
วตายเพื่
อหนี
จากภาวะบี
บคั้
นทางจิ
ตใจสู
งมาก รวมถึ
งภาษา
วิ
กฤติ
เสี่
ยงขั้
นรุ
นแรงภาษาหนึ่
งในประเทศไทยต่
อการสู
ญหายของภาษาและวั
ฒนธรรม
ภาษามลาบรี
เป็
นภาษาที่
มี
ความสำ
�คั
ญและมี
คุ
ณค่
าในแง่
มรดกทางวั
ฒนธรรมที่
ได้
สื
บทอดกั
นมายาวนานใน
ภาษามี
องค์
ความรู้
เกี่
ยวกั
บธรรมชาติ
มากมาย ทั้
งพื
ชที่
กิ
นได้
พื
ชที่
เป็
นยา พื
ชที่
สั
ตว์
กิ
น พื
ชที่
นำ
�มาใช้
ประโยชน์
ใน
งานหั
ตถกรรม สานกระเป๋
า ทำ
�ตะกร้
าหวาย ทั้
งภาษามลาบรี
เองก็
ยั
งเป็
นภาษาที่
แสดงว่
ามลาบรี
เป็
นกลุ่
มคนที่
ให้
คุ
ณค่
ากั
บความเสมอภาค ความเท่
าเที
ยม ไม่
มี
ชนชั้
นหรื
อความแก่
งแย่
ง หากภาษามลาบรี
หายไป ก็
จะเป็
นการสู
ญเสี
ครั้
งยิ่
งใหญ่
ต่
อมรดกทางภู
มิ
ปั
ญญาอั
นมี
ค่
านี้
อย่
างไรก็
ดี
เยาวชนมลาบรี
รุ่
นใหม่
หลายๆ คนที่
บ้
านห้
วยหยวกและ
บ้
านห้
วยลู่
จั
งหวั
ดน่
าน ได้
มี
ความสนใจที่
จะอนุ
รั
กษ์
ภาษาและวั
ฒนธรรมของตนเพื่
อไม่
ให้
สู
ญหายไป ทั้
งยั
งเป็
นการ
นำ
�ความรู้
ภู
มิ
ปั
ญญาในอดี
ตมาปรั
บใช้
กั
บโลกปั
จจุ
บั
นด้
วย
ภาษามลาบรี
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๗
เอกสารอ้
างอิ
อิ
สระ ชู
ศรี
และคณะ.
การศึ
กษากระบวนการเปลี่
ยนผ่
านจากวิ
ถี
ชี
วิ
ตเร่
ร่
อนหาของป่
าล่
าสั
ตว์
สู่
การเป็
นชาวบ้
าน
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
มลาบรี
(ตองเหลื
อง) เพื่
อหาแนวทางการพั
ฒนาโดยใช้
ภาษาท้
องถิ่
นเป็
นฐาน.
นครปฐม : สถาบั
นวิ
จั
ยภาษาและวั
ฒนธรรมเอเซี
ย มหาวิ
ทยาลั
ยมหิ
ดล.
Jorgen Rischel. (1995). Minor Mlabri: A Hunter-Gatherer Language of Northern Indochina, Museum
Tusculanum Press University of Copenhagen.