Page 66 - dcp5

Basic HTML Version

57
ภาษามลาบรี
เรี
ยบเรี
ยงโดย ชุ
มพล โพธิ
สาร
มลาบรี
แปลว่
า คนป่
า หรื
อ คนอยู่
ป่
า (มลา = คน + บรี
= ป่
า) ในอดี
ตคนไทยจะรู้
จั
กคนกลุ่
มนี้
ในชื่
ออื่
นๆ
เช่
น ผี
ตองเหลื
อง ข่
าตองเหลื
อง ซึ่
งเป็
นชื่
อที่
คนภายนอกเรี
ยก มลาบรี
จะไม่
ชอบให้
ผู้
อื่
นเรี
ยกชื่
อในลั
กษณะเช่
นนั้
เพราะเป็
นคำ
�ที่
เรี
ยกในเชิ
งดู
ถู
กที่
แปลว่
าผี
ไม่
ใช่
คนหรื
อเป็
นทาส (ข่
า) ในประเทศไทย มี
ชาวมลาบรี
อาศั
ยอยู่
ประมาณ
๔๐๐ คนในจั
งหวั
ดแพร่
และจั
งหวั
ดน่
านโดยอาศั
ยอยู่
ใน ๕ หมู่
บ้
านที่
ห่
างไกลกั
นและในแขวงไซยะบุ
รี
ของประเทศลาว
มี
ประมาณ ๒๐ คน เดิ
มที
ชาวมลาบรี
เป็
นกลุ่
มสั
งคมที่
มี
วั
ฒนธรรมแบบเก็
บหาของป่
า-ล่
าสั
ตว์
และเคลื่
อนย้
ายอพยพไป
ตามแหล่
งที่
มี
ทรั
พยากรธรรมชาติ
ที่
ใช้
ในการดำ
�รงชี
วิ
ตที่
อุ
ดมสมบู
รณ์
และเชื่
อว่
าในอดี
ตที่
ผื
นป่
าในประเทศไทยยั
งเป็
ผื
นป่
าผื
นเดี
ยวที่
เชื่
อมโยงติ
ดต่
อกั
น มลาบรี
เคยเดิ
นทางท่
องเที่
ยวเคลื่
อนย้
ายไปทั่
วเขตจั
งหวั
ดเลย จั
งหวั
ดแพร่
จั
งหวั
ดน่
าน รวมถึ
งแขวงไซยะบุ
รี
ของประเทศลาว รู
ปแบบวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรมแบบมลาบรี
นั้
นเป็
นวั
ฒนธรรมที่
ค่
อน
ข้
างโดดเด่
น เป็
นกลุ่
มคนที
มี
ความรู้
เรื่
องพื
ชอย่
างมาก มี
ภู
มิ
ปั
ญญาการใช้
พื
ช ทั้
งอาหาร ยาสมุ
นไพร เครื่
องจั
กสาน
หั
ตถกรรม และเป็
นกลุ่
มชนที่
รั
กอิ
สระอย่
างไม่
ยึ
ดติ
ดในวั
ตถุ
สิ่
งของ ไม่
เก็
บกั
กตุ
นอาหาร มี
การแบ่
งปั
นทรั
พยากรอย่
าง
เหมาะสมและเท่
าเที
ยม รั
กธรรมชาติ
ต้
นไม้
ป่
าเขามลาบรี
สามารถเป่
าแคนได้
อย่
างไพเราะและร้
องเพลงสำ
�เนี
ยงหมอลำ
แต่
เป็
นภาษามลาบรี
ได้
อย่
างไพเราะ
ภาษามลาบรี
เป็
นภาษาในตระกู
ลออสโตรเอเชี
ยติ
ก สาขามอญ-เขมร กลุ่
มย่
อยขมุ
อิ
ค ภาษากลุ่
มย่
อยที่
มี
ความ
ใกล้
เคี
ยงกั
นได้
แก่
ภาษาขมุ
ภาษามั
ล/ปรั
ย(ลั
วะ) ในจั
งหวั
ดน่
าน เชี
ยงราย ภาษามลาบรี
มี
ลั
กษณะของภาษาตระกู
มอญ-เขมรที่
ชั
ดเจน โดยมี
พยั
ญชนะต้
น ๓๑ ตั
ว เสี
ยงสะกด ๑๒ ตั
ว โดยเฉพาะเสี
ยงสะกด ญ, จ , ฮ ส่
วนเสี
ยงสระของ
ภาษามลาบรี
ไม่
แยกเสี
ยงสั้
นหรื
อเสี
ยงยาว โดยมี
การเขี
ยนคำ
�เรี
ยกชื่
อคนกลุ่
มนี้
สองแบบคื
อ “มลาบรี
” กั
บ“มละบริ
ตั
วอย่
างคำ
�ศั
พท์
ในภาษามลาบรี
เช่
บรี
= ป่
า,
เกรว
= ไปหา,
มาด
= ตา,
มอฮ
= จมู
ก,
กวาย
= หั
วมั
น ป่
า ไวยากรณ์
ภาษา
มลาบรี
โดยทั่
วไปมี
การเรี
ยงคำ
�ใน ลั
กษณะ ประธาน, กริ
ยา,
กรรม เช่
นเดี
ยวกั
บกลุ่
มภาษามอญเขมรอื่
นๆ เช่
นประโยคว่
โอฮ ฌาก แฆง
= ฉั
น-ไป-บ้
าน, ประโยคปฏิ
เสธ
โอฮ กิ
มาด
รวาย
= ฉั
น -ไม่
(เคย)-เห็
น-เสื
อ ภาษามลาบรี
มั
กจะลากเสี
ยง
ท้
ายสู
งและยาวกว่
าปกติ
ทำ
�ให้
เหมื
อนกั
บพู
ดภาษาดนตรี
ที
มี
ความไพเราะแต่
ไม่
ใช่
เสี
ยงวรรณยุ
กต์