Page 52 - dcp5

Basic HTML Version

43
ภาษาบี
ซู
เรี
ยบเรี
ยงโดย มยุ
รี
ถาวรพั
ฒน์
บี
ซู
(Bisu) หรื
อบี่
สู่
มบี
ซู
มี
ซู
มี
บี
ซู
เลาเมี
ยน เป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
พู
ดภาษาตระกู
ลทิ
เบต-พม่
า คำ
�ว่
า “บี
ซู
” เป็
ชื่
อที่
ชาวบ้
านเรี
ยกตนเองและเรี
ยกภาษาของเขา และในทางราชการหรื
อคนทั่
วไปเรี
ยกชนกลุ่
มนี้
ว่
า “ลั
วะ” คนบี
ซู
ตั้
งบ้
านเรื
อนอยู่
ที่
บ้
านดอยชมภู
อำ
�เภอแม่
ลาว บ้
านปุ
ยคำ
� อำ
�เภอเมื
อง และบ้
านผาแดง อำ
�เภอพาน จั
งหวั
ดเชี
ยงราย
มี
จำ
�นวนประชากรประมาณ ๕๐๐ คน ภาษานี้
จั
ดอยู่
ในตระกู
ลทิ
เบต-พม่
า สาขาโลโล
ตามหลั
กฐานพงศาวดารจี
น ค.ศ. ๑๘๐๑ (พ.ศ. ๒๓๔๔) บี
ซู
น่
าจะมาจากสิ
บสองปั
นนา ประเทศจี
น ตอนใต้
โดยมี
ผู้
นำ
�ของชนเผ่
าละหู่
๒ คน ชื่
อว่
า ลี
เวนมิ
ง (Li Wenming) และ ลี
เซี
ยวลาว (Li Xiaolao) ร่
วมมื
อกั
บชาวบี
ซู
ต่
อต้
านผู้
ว่
าราชการและจั
กรพรรดิ
จี
นที่
มี
ชื่
อว่
า เจี
ยคิ
ง (Jia Qing) ซึ่
งเป็
นผู้
ที่
มี
ความโหดร้
ายมาก แต่
ทั้
งชนเผ่
าละหู่
และบี
ซู
ก่
อการปฏิ
วั
ติ
ไม่
สำ
�เร็
จ จึ
งหนี
เข้
ามาในประเทศไทย
ภาษาบี
ซู
จั
ดอยู่
ในตระกู
ลจี
น-ทิ
เบต (Sino-Tibetan) ตระกู
ลย่
อย ทิ
เบต-พม่
า สาขาโลโล ภาษาบี
ซู
ที่
บ้
านดอย
ชมภู
ตำ
�บลโป่
งแพร่
อำ
�เภอแม่
ลาว จั
งหวั
ดเชี
ยงราย มี
พยั
ญชนะต้
น ๒๙ หน่
วยเสี
ยง มี
๔ หน่
วยเสี
ยง ที่
คนรุ่
นใหม่
ไม่
ออกเสี
ยง ได้
แก่
ฮน ฮม ฮย และ ฮล สระมี
๑๐ หน่
วยเสี
ยง ความสั้
นยาวของเสี
ยงสระไม่
มี
นั
ยสำ
�คั
ญทางความ
หมายซึ่
งเป็
นเอกลั
กษณ์
ของภาษาตระกู
ลทิ
เบต-พม่
า กล่
าวคื
อ จะออกเสี
ยงสระเสี
ยงสั้
นหรื
อยาวก็
ได้
ไม่
ได้
ทำ
�ให้
ความ
หมายเปลี่
ยนไป เช่
น ยะ-ยา “ไร่
” ซึ่
งต่
างจากภาษาไทยที่
การออกเสี
ยงสระสั้
นหรื
อยาวทำ
�ให้
ความหมายเปลี่
ยนแปลง
วรรณยุ
กต์
มี
๓ หน่
วยเสี
ยง ได้
แก่
เสี
ยงระดั
บกลาง เช่
ยา
= ไร่
ระดั
บตํ่
าตก เช่
ย่
= คั
น และระดั
บสู
งขึ้
น เช่
ย้
= ไก่
การเรี
ยงคำ
�ในประโยคมี
ลั
กษณะแบบ ประธาน-กรรม-กริ
ยา (SOV) เช่
กงา ฮ่
าง จร่
<ฉั
น-ข้
าว-กิ
น>
= ฉั
นกิ
นข้
าว
กงา นางนา ค่
าลาว วื
อ ปี่
ล่
าแอ่
<ฉั
น-คุ
ณ-เสื้
อ-ซื้
อ-ให้
> = ฉั
นซื้
อเสื้
อให้
คุ
นาง อางเมง บา เจอ
<คุ
ณ-ชื่
อ-อะไร> = คุ
ณชื่
ออะไร
ยู
ม เกิ้
ง เวอ
<บ้
าน-ที่
ไหน-อยู่
>= บ้
านอยู่
ที่
ไหน
ปั
จจุ
บั
นสถานการณ์
ภาษาบี
ซู
อยู่
ในภาวะถดถอย เด็
กบี
ซู
ไม่
สามารถสื่
อสารด้
วยภาษาบี
ซู
กั
บพ่
อแม่
ปู่
ย่
า ตายาย
สาเหตุ
ของการใช้
ภาษาบี
ซู
น้
อยลงนั้
นเนื่
องมาจากการเปลี่
ยนแปลงวิ
ธี
การเลี้
ยงดู
เด็
กบี
ซู
ในช่
วงเด็
กเล็
ก ที่
แต่
เดิ
เมื่
อเด็
กบี
ซู
เกิ
ดมา ผู้
ที่
ทำ
�หน้
าที่
อบรมเลี้
ยงดู
คื
อ พ่
อแม่
ปู่
ย่
าตายาย
ภาษาที่
เด็
กบี
ซู
ได้
รู้
จั
กและพู
ดได้
เป็
นภาษาแรก คื
อ ภาษาบี
ซู
แต่
ปั
จจุ
บั
จากวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบี
ซู
ที่
ต้
องดิ้
นรนในเรื่
องการประกอบอาชี
พ มี
การ
ทำ
�งานรั
บจ้
างต่
างหมู่
บ้
าน ภาษาที่
เด็
กบี
ซู
ได้
เรี
ยนรู้
เป็
นภาษาแรกจึ
กลายเป็
นภาษาคำ
�เมื
องตามภาษาที่
ผู้
ดู
แลใช้
สำ
�หรั
บกลุ่
มวั
ยกลางคนและ
ผู้
สู
งอายุ
มี
แนวโน้
มจะใช้
ภาษาคำ
�เมื
องมากขึ้
น แต่
ก็
ยั
งมี
ความสามารถใน
การใช้
ภาษาบี
ซู
ได้
อย่
างดี