Page 44 - dcp5

Basic HTML Version

35
ภาษาญั
ฮกุ
เรี
ยบเรี
ยงโดย มยุ
รี
ถาวรพั
ฒน์
คำ
�ว่
า “ญั
ฮกุ
ร” แปลว่
า “คนภู
เขา” ญั
ฮ แปลว่
า “คน” และ กุ
ร แปลว่
า “ภู
เขา” คนทั่
วไปรู้
จั
กคนกลุ่
มนี้
ในนาม
“คนดง” หรื
อ “ชาวบน” ชาวญั
ฮกุ
รอาศั
ยอยู่
ในป่
าบนภู
เขา เดิ
มเป็
นพรานป่
าและย้
ายที่
อยู่
ไปเรื่
อย ๆ เคยอาศั
ยอยู่
ในป่
าแถบเทื
อกเขาพั
งเหย มี
อาณาเขตที่
ต่
อเนื่
องกั
นระหว่
างภาคกลาง ได้
แก่
จั
งหวั
ดลพบุ
รี
ภาคเหนื
อ ได้
แก่
จั
งหวั
เพชรบู
รณ์
และภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ได้
แก่
จั
งหวั
ดชั
ยภู
มิ
และจั
งหวั
ดนครราชสี
มา ปั
จจุ
บั
นพบชาวญั
ฮกุ
รอาศั
หนาแน่
นในเขตอำ
�เภอเทพสถิ
ต จั
งหวั
ดชั
ยภู
มิ
ภาษาญั
ฮกุ
ร เป็
นภาษาที่
อยู่
ในตระกู
ลออสโตรเอเชี
ยติ
ก สาขามอญ – เขมร สาขาย่
อยโมนิ
ก มี
ความใกล้
เคี
ยงกั
ภาษามอญซึ่
งอยู่
ในสาขาเดี
ยวกั
น นั
กภาษาศาสตร์
เชิ
งประวั
ติ
ได้
แก่
ชอโต และ ดิ
ฟฟลอด พบว่
าภาษาญั
ฮกุ
รที่
พู
ดกั
ในปั
จจุ
บั
นมี
ความคล้
ายคลึ
งกั
บภาษามอญโบราณที่
ปรากฏอยู่
ในจารึ
กสมั
ยทวารวดี
ที่
ค้
นพบในประเทศไทยเป็
นอย่
าง
มากจนเรี
ยกได้
ว่
าเป็
นภาษาเดี
ยวกั
น เนื่
องจากนั
กวิ
ชาการเชื่
อว่
าภาษามอญโบราณเป็
นภาษากลางของคนในยุ
คทวารวดี
เมื่
อประมาณ ๒,๐๐๐ ปี
มาแล้
ว จึ
งทำ
�ให้
เชื่
อได้
ว่
าชาวญั
ฮกุ
รน่
าจะเป็
นลู
กหลานของคนมอญสมั
ยทวารวดี
ที่
ยั
งหลง
เหลื
ออยู่
ถึ
งปั
จจุ
บั
ภาษาญั
ฮกุ
ร มี
ระบบเสี
ยงที่
แสดงลั
กษณะภาษากลุ่
มมอญ – เขมรชั
ดเจน ทั้
งพยั
ญชนะต้
น (๒๖ ตั
ว) พยั
ญชนะ
สะกด (๑๔ ตั
ว) ภาษาญั
ฮกุ
รไม่
มี
วรรณยุ
กต์
แต่
มี
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยง โดยมี
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยง ๒ ลั
กษณะ คื
อ ๑) ลั
กษณะ
นํ้
าเสี
ยงใหญ่
ทุ้
มตํ่
า (เสี
ยงก้
อง มี
ลม) เช่
น ชุ่
ร = แมลง, เน่
จ = ผ้
า ๒) ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงปกติ
และสู
ง-ตก เช่
ชุ
= สุ
นั
ข,
เนจ
= เล็
ก เป็
นต้
น มี
พยั
ญชนะต้
นนาสิ
กอโฆษะนอกเหนื
อจากพยั
ญชนะต้
นนาสิ
ก โฆษะที่
พบกั
นทั่
วไป เช่
ฮนู
= ลิ
ง,
ฮมุ
= หมี
,
แฮร็
= เกี่
ยว (ข้
าว) เสี
ยงสระในพยางค์
เปิ
ดตามหลั
งด้
วยการกั
กของเส้
นเสี
ยงเสมอทำ
�ให้
เสี
ยงสระค่
อน
ข้
างยาว เช่
ฮี
= บ้
าน,
ฮลา
= ใบไม้
,
ฮวา
= ชิ้
นเนื้
อ และมี
เสี
ยงพยั
ญชนะสะกดเป็
นเอกลั
กษณ์
ของภาษากลุ่
มมอญ
– เขมร เช่
ชุ
= สุ
นั
ข,
จี
= ช้
าง,
ยุ
ล ยุ
=ชะนี
,
ริ่
= รากไม้
,
ปั
= เก้
ง เป็
นต้
น ไวยากรณ์
ภาษาญั
ฮกุ
รมี
ลั
กษณะ
การเรี
ยงคำ
�แบบประธาน – กริ
ยา – กรรม เช่
นเดี
ยวกั
บภาษากลุ่
มมอญ – เขมรทั่
วไป เช่
น ประโยคว่
แม่
ะ พ่
ะ โจว
โดง เฮย
<แม่
-พ่
อ-กลั
บไป-หมู่
บ้
าน-แล้
ว> = พ่
อแม่
กลั
บบ้
านไปแล้
ชาวญั
ฮกุ
รมี
องค์
ความรู้
เกี่
ยวกั
บป่
า สั
ตว์
ป่
า พั
นธุ์
พื
ชพื้
นบ้
าน สมุ
นไพร และมี
การละเล่
นพื้
นบ้
านซึ่
งเป็
นการขั
เพลงของชาวญั
ฮกุ
ร โดยมี
เสี
ยงเอื้
อนที่
ไพเราะเป็
นเอกลั
กษณ์
เรี
ยกว่
า “ปา เร่
เร่
” มี
เนื้
อร้
องเป็
นภาษาญั
ฮกุ
ร บรรยาย
ถึ
งความงามของธรรมชาติ
การเกี้
ยวพาราสี
ระหว่
างชายหญิ
ง การลาจากและการโหยหาอดี
ต ปั
จจุ
บั
นมี
ผู้
สามารถเล่
และขั
บร้
องได้
ไม่
มากนั