Page 25 - dcp5

Basic HTML Version

16
ที่
มี
ลั
กษณะการสร้
างคำ
�ด้
วย การแผลงคำ
� เช่
ชั
= ฉั
นอาหาร (ใช้
กั
บพระ),
จั
งฮั
= อาหารพระ,
ตุ
= เกาะ
(กริ
ยา),
ตรนุ
= คอน (สำ
�หรั
บเกาะ) ภาษาเขมรไม่
มี
วรรณยุ
กต์
เรี
ยงโครงสร้
างประโยคแบบประธาน-กริ
ยา-กรรม
เช่
แม กำ
�ปุ
ง ตนำ
� บาย
<แม่
-กำ
�ลั
ง-หุ
ง-ข้
าว> = แม่
กำ
�ลั
งหุ
งข้
าว ประโยคปฏิ
เสธจะมี
การใช้
คำ
�แสดงการปฏิ
เสธ ๒ คำ
วางไว้
หน้
าและหลั
งคำ
�กริ
ยา เช่
คญ̣
ม มั
น เติ
ว็
เต
<ฉั
น-ไม่
-ไป-ไม่
> = ฉั
นไม่
ไปหรอก คำ
�ขยายมั
กอยู่
หลั
งคำ
�หลั
ก เช่
ปเตี
ย็
ฮ ทแม็
<บ้
าน-ใหม่
> = บ้
านใหม่
แต่
คำ
�ขยายในประโยคบางครั้
งจะวางไว้
หน้
าคำ
�หลั
ก เช่
โกน กเมญ ร็
วด
ดู
ล บะ ดั
<เด็
ก-เด็
ก-วิ่
ง-ล้
ม-หั
ก-แขน> = เด็
กน้
อยวิ่
งหกล้
มแขนหั
ภาษาเขมรมี
เสี
ยงพยั
ญชนะคล้
ายคลึ
งกั
บภาษาไทย โดยมี
หน่
วยเสี
ยงพยั
ญชนะต้
น๒๒ ตั
ว ที่
แตกต่
างจากภาษาไทย
คื
อ ญ- หน่
วยเสี
ยงพยั
ญชนะท้
ายมี
๑๔ ตั
ว ที่
แตกต่
างจากภาษาไทยคื
อ –จ, -ญ, -ร, -ล, -ฮ พยั
ญชนะต้
นควบกลํ้
ในภาษาเขมรมี
ความหลากหลายและมี
การเกิ
ดร่
วมกั
นได้
มากกว่
าภาษาไทย เช่
คลอจ
=ไหม้
,
จราน
= ผลั
ก,
ซลั
= ตาย คำ
�ส่
วนใหญ่
ในภาษาเขมรเป็
นคำ
�พยางค์
เดี
ยวและคำ
�สองพยางค์
ส่
วนคำ
�สามพยางค์
และสี่
พยางค์
มี
จำ
�นวน
ไม่
มาก สระในภาษาเขมรมี
เสี
ยงแปรต่
างกั
นไปตามพื้
นที่
เช่
น จั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
มี
การออกเสี
ยงสระแตกต่
างกั
นตามระดั
ความสู
งของลิ้
น ส่
วนจั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
มี
การออกเสี
ยงสระที่
ต่
างกั
นที่
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงด้
วย
ภาษาเขมรในประเทศไทยอยู่
ในภาวะถอดถอยเนื่
องจากความเจริ
ญทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทำ
�ให้
ชุ
มชน
ท้
องถิ่
นเข้
าถึ
งภาษาไทยได้
ง่
าย และละเลยการอนุ
รั
กษ์
ภาษาพู
ดของตน อย่
างไรก็
ตาม คนไทยเชื้
อสายเขมรในพื้
นที่
และนั
กวิ
ชาการได้
ร่
วมกั
นพยายามอนุ
รั
กษ์
ภาษาและวั
ฒนธรรมเขมรถิ่
นไทย ที่
มี
ลั
กษณะเฉพาะตั
ว แตกต่
างจากภาษา
เขมรกั
มพู
ชาไว้
โดยดำ
�เนิ
นโครงการสอนภาษาเขมรถิ่
นไทยด้
วยอั
กษรไทย เพื่
อช่
วยบั
นทึ
กและรั
กษาภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
วรรณกรรมมุ
ขปาฐะต่
างๆ และนำ
�ไปใช้
ในการจั
ดการเรี
ยนการสอนภาษาเขมรถิ่
นไทยด้
วยอั
กษรไทย การดำ
�เนิ
การนี้
นอกจากช่
วยในการรั
กษาภาษาเขมรถิ่
นไทย และภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นแล้
ว ยั
งช่
วยให้
สามารถเชื่
อมโยงไปสู่
การ
พั
ฒนาการเรี
ยนภาษาไทย ซึ่
งเป็
นภาษาราชการและใช้
เป็
นภาษาของการศึ
กษาด้
วย ดั
งเช่
นที่
ดำ
�เนิ
นการในโรงเรี
ยน
โพธิ์
กอง อำ
�เภอปราสาท จั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
และราชบั
ณฑิ
ตยสถานได้
จั
ดพิ
มพ์
คู่
มื
อระบบเขี
ยนภาษาเขมรถิ่
นไทยอั
กษร
ไทย อั
นจะเป็
นการช่
วยอนุ
รั
กษ์
ภาษาเขมรถิ่
นไทยในท้
องถิ่
นต่
างๆ และช่
วยพั
ฒนาการศึ
กษาของเยาวชน และเป็
พื้
นฐานสำ
�หรั
บการเรี
ยนรู้
ภาษาเขมรกั
มพู
ชาต่
อไป
ภาษาเขมรถิ่
นไทย ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช
๒๕๕๖