Page 84 - dcp4

Basic HTML Version

73
ประเพณี
แห่
เที
ยนพรรษา
จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
เรี
ยบเรี
ยงโดย บุ
ญชั
ย ทองเจริ
ญบั
วงาม และสำ
�นั
กงานวั
ฒนธรรมจั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ประเพณี
แห่
เที
ยนพรรษา เป็
นประเพณี
ปฏิ
บั
ติ
ของชาวพุ
ทธที่
ได้
กระทำ
�มาแต่
ครั้
งพุ
ทธกาล เหตุ
ที่
ทำ
�ให้
เกิ
ประเพณี
นี้
เพราะสมั
ยก่
อนในช่
วงฤดู
ฝนมี
ภิ
กษุ
ได้
เดิ
นไปเหยี
ยบยํ่
าข้
าวกล้
าในนาของชาวบ้
านทำ
�ให้
ได้
รั
บความเดื
อดร้
อน
ดั
งนั้
นพระพุ
ทธเจ้
าจึ
งได้
อนุ
ญาตให้
ภิ
กษุ
สามเณรอยู่
จำ
�พรรษาที่
วั
ดเป็
นเวลา ๓ เดื
อน คื
อในช่
วงวั
นแรม ๑ คํ่
เดื
อน ๘ ถึ
งวั
นขึ้
น ๑๕ คํ่
า เดื
อน ๑๑ ซึ่
งเป็
นช่
วงสิ้
นสุ
ดการเก็
บเกี่
ยวของชาวบ้
านพอดี
ในช่
วงเข้
าพรรษานี้
ประชาชน
จะนำ
�เที
ยนไปถวายพระภิ
กษุ
เพื่
อประกอบพิ
ธี
ทางศาสนาและศึ
กษาเล่
าเรี
ยนในเวลาคํ่
าคื
นเพราะเชื่
อว่
าจะทำ
�ให้
ตน
เฉลี
ยวฉลาดมี
ไหวพริ
บปฏิ
ภาณประดุ
จแสงเที
ยนที่
ส่
องทางสว่
าง ขจั
ดความมื
ดมนทางปั
ญญาได้
ดั
งจะปรากฏอยู่
ใน
ฮี
ตสิ
บสองคองสิ
บสี่
หลั
กปฏิ
บั
ติ
ที่
ชาวอี
สานยึ
ดถื
อมาเป็
นเวลานาน
ประวั
ติ
ความเป็
นมาของประเพณี
แห่
เที
ยนพรรษาจั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
เมื
องอุ
บลราชธานี
มี
ประวั
ติ
ความเป็
นมาอย่
างยาวนาน โดยเฉพาะเมื
องอุ
บลราชธานี
เมื่
อครั้
งอดี
ตถื
อเป็
นเมื
อง
ที่
ตั้
งอยู่
ในพื้
นที่
ที่
คนอี
สานเรี
ยกขนานนามกั
นว่
า “ดงอู่
ผึ้
ง” เป็
นป่
าที่
เป็
นแหล่
งทำ
�รั
งของผึ้
งหลวงขนาดใหญ่
ในช่
วง
เดื
อน ๕ เมษาของทุ
กปี
จะมี
ชาวบ้
านที่
มี
อาชี
พเก็
บนํ้
าผึ้
งป่
าจากดงอู่
ผึ้
ง ซึ่
งถื
อว่
าเป็
นนํ้
าผึ้
งป่
าที่
ดี
ที่
สุ
ดในป่
าภาคอี
สาน
ผลพลอยได้
จากการเก็
บนํ้
าผึ้
งป่
า คื
อ รั
งผึ้
งป่
า ก็
คื
อขี้
ผึ้
งนั่
นเอง จึ
งเกิ
ดภู
มิ
ปั
ญญาจากการใช้
ขี
ผึ้
งป่
าจากธรรมชาติ
มาทำ
�เที
ยนเพื่
อใช้
ในการให้
แสงสว่
างประกอบกั
บในช่
วงเวลาเดื
อน ๘ คื
อ งานบุ
ญเข้
าพรรษาตามฮี
ตคองของชาวอี
สาน
จึ
งถื
อเป็
นประเพณี
ในการถวายเที
ยนพรรษา เพื่
อให้
พระภิ
กษุ
สงฆ์
ได้
ใช้
ประโยชน์
จากแสงเที
ยนในการส่
องสว่
างสำ
�หรั
ใช้
ในการศึ
กษาพระธรรมวิ
นั
ยขณะจำ
�พรรษา
ในอดี
ต เมื่
อครั้
งสมเด็
จพระเจ้
าน้
องยาเธอกรมหลวงสรรพสิ
ทธิ
ประสงค์
ได้
เสด็
จฯมาเป็
นผู้
สำ
�เร็
จราชการ
ต่
างพระองค์
ในมณฑลหั
วเมื
องลาวกาว ประทั
บที่
เมื
องอุ
บลราชธานี
ทรงกล่
าวถึ
งประเพณี
การถวายเที
ยนของชาวเมื
อง
อุ
บลฯ ไว้
ว่
า “ชาวเมื
องอุ
บลฯ จะฟั่
นเที
ยนยาวรอบศี
รษะ (เที
ยนเวี
ยนหั
ว) ไปถวายวั
ดเพื่
อจุ
ดบู
ชาจำ
�นำ
�พรรษา
หานํ้
ามั
นไปใส่
ตะเกี
ยงให้
พระภิ
กษุ
สงฆ์
ได้
ใช้
จุ
ดดู
หนั
งสื
อ และจั
ดหาเครื่
องไทยธรรม ผ้
าอาบนํ้
าฝนไปถวายพระ
ตามจารี
ตของเมื
อง”
การแห่
เที
ยนพรรษาแต่
เดิ
มมิ
ได้
ยิ่
งใหญ่
เหมื
อนในปั
จจุ
บั
น มี
เพี
ยงแต่
ชาวบ้
านร่
วมกั
นบริ
จาคเที
ยนให้
กั
บหั
วหน้
ชุ
มชน แล้
วนำ
�มามั
ดติ
ดกั
นกั
บลำ
�ไม้
ไผ่
เป็
นปล้
องๆ เรี
ยกว่
า “เที
ยนมั
ดรวม” แล้
วปิ
ดรอยต่
อด้
วยกระดาษสี
(กระดาษ
ทอง-เงิ
น) ตอกเป็
นลวดลายต่
างๆ เสร็
จแล้
วนำ
�ต้
นเที
ยนมั
ดไปมั
ดติ
ดกั
บฐานที่
ทำ
�จากปี๊
บนํ้
ามั
นก๊
าด หรื
อนํ้
ามั
นมะพร้
าว