Page 123 - dcp4

Basic HTML Version

112
ลอยกระทง
เรี
ยบเรี
ยงโดย กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม
ลอยกระทง เป็
นประเพณี
ที่
สำ
�คั
ญและถื
อปฏิ
บั
ติ
สื
บทอด
กั
นมายาวนานตั้
งแต่
สมั
ยที่
มี
ผู้
คนอาศั
ยอยู่
ในดิ
นแดนสุ
วรรณภู
มิ
สั
นนิ
ษฐานว่
า การลอยกระทงจะเป็
นคติ
ของชนชาติ
ที่
ประกอบ
การกสิ
กรรม ซึ่
งต้
องอาศั
ยนํ้
าในการเพาะปลู
ก เมื่
อถึ
งเวลานํ้
าหลาก
จึ
งทำ
�กระทงลอยเพื
อขอบคุ
ณแม่
คงคาหรื
อสิ่
งศั
กดิ
สิ
ทธิ์
ที่
ประทาน
นํ้
าให้
เกิ
ดความอุ
ดมสมบู
รณ์
ตามด้
วยการละเล่
นรื่
นเริ
งที่
แสดงถึ
การแล้
วเสร็
จของภาระกิ
จที่
ได้
กระทำ
�มาแล้
วจนเห็
นผล ประเพณี
ลอยกระทงจึ
งเป็
นประเพณี
ของคนในสั
งคมลุ่
มนํ้
าซึ่
งประกอบอาชี
ทางการเกษตร โดยปรากฏทั้
งในอิ
นเดี
ย พม่
า ลาว เขมรและไทย
ซึ่
งปฏิ
บั
ติ
แตกต่
างกั
นไปในแต่
ละพื้
นที่
ในประเทศไทย มี
การจั
ประเพณี
ลอยกระทงแตกต่
างไปตามพื้
นที่
ภาคต่
างๆ ดั
งนี้
การลอยกระทงในภาคกลาง จะจั
ดขึ้
นเฉลิ
มฉลองตามวาระ
ในเทศกาลนํ้
านอง เป็
นงานสนุ
กสนาน รื่
นเริ
งของผู้
คนที่
อาศั
ตามแม่
นํ้
าลำ
�คลอง นิ
ยมทำ
�กระทงใบตอง ปั
กดอกไม้
ธู
ปเที
ยนเพื่
อธิ
ษฐานขอพรและขอขมา แม่
คงคา มี
การจุ
ดดอกไม้
เพลิ
งเป็
นการ
เล่
นสนุ
กในวั
นเพ็
ญเดื
อนสิ
บสอง ในอดี
ตชาวบ้
านนิ
ยมตั
กนํ้
าตอน
เที่
ยงคื
นไว้
กิ
น อาบ หรื
อลู
บหน้
าลู
บตั
วเพื่
อความเป็
นสิ
ริ
มงคล
เพราะเป็
นเวลาที่
นํ้
าใสสะอาด
การลอยกระทงในภาคเหนื
อ นิ
ยมทำ
�กั
นในเดื
อนยี่
เป็
(ตรงกั
บเดื
อน ๑๒ ของภาคอื่
นๆ) มี
คำ
�เรี
ยกแต่
โบราณว่
า “ประเพณี
ลอยโขมด” หรื
อ “ลอยไฟ” ระยะหลั
งเรี
ยกกั
นว่
า “ลอยสะเปา” คื
ลอยสำ
�เภา หมายถึ
ง ลอยกระทงขนาดใหญ่
ที่
ทำ
�ประกวดกั
จุ
ดประสงค์
เพื่
อส่
งประที
ป ดอกไม้
ธู
ปเที
ยนไปถวายนมั
สการต่
พระมหาอุ
ปคุ
ตเจ้
า ผู้
มี
บริ
กรรมพำ
�นั
ก ณ ใต้
ท้
องมหานที
มี
การทำ
�ความสะอาดบ้
านเรื
อน ประดั
บหิ้
งบู
ชาพระด้
วยดอกไม้