Page 90 - dcp3

Basic HTML Version

79
เกวี
ยนสลั
กลาย
เรี
ยบเรี
ยงโดย กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม
เกวี
ยน คื
อ พาหนะชนิ
ดหนึ่
ง มี
๒ ล้
อ ใช้
ควายหรื
อ วั
วเที
ยม ใช้
สำ
�หรั
งานบรรทุ
ก ขนส่
ง เดิ
นทางไกล ทำ
�จาก ไม้
เนื้
อแข็
งเป็
นส่
วนใหญ่
เช่
น ไม้
พยู
ไม้
แดง ไม้
ประดู่
ไม้
แคน (ไม้
ตะเคี
ยน)
ในการทำ
�เกวี
ยน ช่
างต้
องมี
ความรู้
ในการคำ
�นวณ สั
ดส่
วน ทั้
งส่
วน
โครงสร้
างและส่
วนประกอบย่
อยต่
างๆ ให้
เหมาะสมกั
บลั
กษณะการใช้
งาน
การเลื
อกไม้
ที่
ใช้
ใน แต่
ละส่
วนของเกวี
ยนให้
เหมาะสมกั
บการรั
บนํ้
าหนั
บรรทุ
ก แรงกระแทกและการเสี
ยดสี
แหล่
งผลิ
ตเกวี
ยนที่
สำ
�คั
ญอยู่
ที่
บ้
านนา
สะไมย์
ตำ
�บลนาสะไมย์
อำ
�เภอเมื
อง จั
งหวั
ดยโสธร
เกวี
ยนบ้
านนาสะไมย์
มี
ลั
กษณะเฉพาะ เรี
ยกว่
า เกวี
ยนสลั
กลาย เป็
เกวี
ยนที่
มี
การสลั
กลวดลายเต็
มพื้
นที่
ของตั
วเรื
อนเกวี
ยน และรวมถึ
งสลั
ในส่
วนอื่
นๆ อี
กหลายแห่
ง คื
อ แป้
นชาน หั
วโถน คั่
นยั
น แพดหรื
อแปรก หั
วทวก
คั
นทู
ปเกวี
ยน หั
วเต่
าหน้
า หั
วเต่
าหลั
ง คานหน้
า คานหลั
ง และก้
องเพลา
ลั
กษณะของเกวี
ยนมี
หั
วทวกโค้
งงอลง เล็
กน้
อย ตั
วเรื
อนเกวี
ยนจะทำ
�แยกอี
ชิ้
นหนึ่
ง วางเพื
อใช้
งาน บนโครงคาน ทวก และถอดออกได้
โดยเฉพาะอย่
างยิ่
การสลั
กลวดลายที่
ดู
เหมื
อนจะคล้
ายๆ กั
นทั่
วไป แต่
ใน รายละเอี
ยดช่
างสลั
กเกวี
ยนจะมี
อิ
สระในการจั
ดวาง ลวดลาย
ต่
างๆ ที่
สื
บทอดกั
นมา เช่
น ลายเม็
ดข้
าวสาร ลายดอก ลายย้
อย ลายเครื
อ ฯลฯ
ปั
จจุ
บั
นการทำ
�เกวี
ยนสลั
กลายกำ
�ลั
งประสบปั
ญหา หลายด้
าน เช่
น การหมดประโยชน์
ใช้
สอย การขาดแคลน
วั
ตถุ
ดิ
บ ซึ่
งทำ
�ให้
ช่
างฝี
มื
อต้
องละทิ้
งอาชี
พเดิ
มไปประกอบ อาชี
พใหม่
ซึ่
งอาจจะส่
งผลให้
ความรู้
ในเชิ
งช่
างสู
ญหายไป
ในที่
สุ
เ ก วี
ย น ส ลั
ก ล า ย
ไ ด้
รั
บ ก า ร ขึ้
น ท ะ เ บี
ย น
เป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทาง
วั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๒