Page 85 - dcp3

Basic HTML Version

74
บาตรบ้
านบาตร
เรี
ยบเรี
ยงโดย รุ่
งอรุ
ณ กุ
ลธำ
�รง
บาตรเป็
นภาชนะใส่
อาหารของพระภิ
กษุ
สามเณรบิ
ณฑบาต บาตรเป็
นหนึ่
งในแปดอย่
างของเครื่
องอั
ฐบริ
ขารของ
ภิ
กษุ
การทำ
�บาตรด้
วยมื
อสื
บทอดมาจากสมั
ยกรุ
งศรี
อยุ
ธยาที่
ย่
านวั
ดพิ
ชั
ย คลองบ้
านบาตรมาถึ
งสมั
ยกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ที่
บ้
านบาตร เขตป้
อมปราบศั
ตรู
พ่
าย กรุ
งเทพมหานคร แหล่
งทำ
�บาตรแบบดั้
งเดิ
มแห่
งเดี
ยวที่
ใช้
วั
สดุ
เหล็
กแท้
จึ
งคงทน
วิ
ธี
การทำ
�บาตรเหล็
กมี
รอยตะเข็
บ ๘ ชิ้
นจางๆ รอบบาตรอั
นมี
ที่
มาจากบาตรใบแรก บาตรมี
ขนาด ๗-๘ นิ้
และ ๙-๑๐ นิ้
ว ทรงไทยเดิ
ม ตะโก ลู
กจั
นทน์
มะนาว วิ
ธี
บุ
ตั
วบาตรแต่
ละใบ คื
อ ๑) ตี
เหล็
กขอบปากบาตรตี
แผ่
นเหล็
กว้
าง ๑ นิ้
ว ยาว ๒ ฟุ
ตให้
แบน ขดวงกลมทำ
�ขอบบาตร ๒) ตั
ดกงบาตร ตั
ดแผ่
นเหล็
กรู
ปกากบาท งอขึ้
นรู
ปบาตร
๓) ติ
ดกง ติ
ดกงกั
บขอบบาตรที
ตี
ไว้
แล้
ว ๔) ตั
ดหน้
าวั
ว ตั
ดแผ่
นเหล็
กคล้
ายใบหน้
าวั
ว ๘ ชิ้
นและจั
กฟั
นปลา ๕) เข้
าหน้
าวั
นำ
�หน้
าวั
วประกอบกงได้
ทรงบาตร ๖) หยอดบาตรและแล่
นบาตร เชื่
อมตะเข็
บบาตรด้
วยนํ้
าประสานทอง
๗) ยุ
บมุ
มบาตร ทุ
บตะเข็
บ ลบมุ
มบาตรจากรอยเชื่
อม ๘) ลายบาตร ตี
บาตรครั้
งสุ
ดท้
ายให้
สมบู
รณ์
๙) ตะไบบาตร
แต่
งผิ
วบาตรให้
ขาว เงางาม
ภู
มิ
ปั
ญญาของการทำ
�บาตร แสดงให้
เห็
นความรู้
ด้
านเทคนิ
คในการประกอบชิ้
นส่
วนเหล็
ก ตามพุ
ทธบั
ญญั
ติ
ประกอบขึ้
นเป็
นรู
ปบาตรที่
มี
รู
ปทรงเฉพาะและมี
เอกลั
กษณ์
เฉพาะถิ่
น ปั
จจุ
บั
นการถ่
ายทอดความรู้
และทั
กษะมี
อุ
ปสรรคเพราะมี
บาตรปั้
มราคาถู
กกว่
า ดู
แลรั
กษาง่
าย ไม่
เป็
นสนิ
มจึ
งทำ
�ให้
ลดความต้
องการช่
างตี
บาตรในบ้
านบาตร
ช่
างเก่
า คนรุ่
นใหม่
ก็
ทำ
�อาชี
พอื่
นๆ อย่
างไรก็
ดี
คุ
ณอารี
ย์
สายรั
ดทอง คุ
ณกฤษณา แสงไชย คุ
ณมยุ
รี
เสื
อศรี
เสริ
คุ
ณสุ
เทพ สุ
ทดิ
ศ เป็
นช่
างทำ
บาตรที่
รั
กอาชี
พทำ
�บาตรก็
ยั
งคง
รั
บงานจากผู้
ว่
าจ้
างที่
ต้
องการ
ความประณี
ต สวยงามของฝี
มื
การอนุ
รั
กษ์
ส่
งเสริ
ม สนั
บสนุ
อย่
างจริ
งจั
งเป็
นระบบต่
อเนื่
อง
ก็
จะเป็
นวิ
ธี
การหนึ
งเพื
อสื
บทอด
บาตรบุ
ด้
วยมื
อให้
เป็
นสมบั
ติ
ศิ
ลป์
ภู
มิ
ปั
ญญาไทยต่
อไป