Page 71 - dcp3

Basic HTML Version

60
เครื่
องเงิ
นไทย
เรี
ยบเรี
ยงโดย บุ
ญชั
ย ทองเจริ
ญบั
วงาม
การนำ
�แร่
โลหะเงิ
นนำ
�มาเป็
นข้
าวของเครื่
องใช้
และสิ่
งของต่
างๆ นั้
น มี
๒ ลั
กษณะ คื
อ ใช้
แร่
เงิ
นเป็
นหลั
ก ทั้
งที่
ทำ
�จากเงิ
นล้
วนๆ เช่
น เชี่
ยนหมาก ขั
นนํ้
า พาน ฯลฯ และเครื่
องเงิ
นที่
ทำ
�จากแร่
โลหะเงิ
น โดยการตกแต่
งให้
สวยงาม
ด้
วยสิ่
งของที่
มี
ค่
าอื่
น เช่
น เครื่
องประดั
บ ลงยาสี
ฝั
งพลอย หรื
ออั
ญมณี
ที่
มี
ค่
า การกาไหล่
ทองทั
บเคลื
อบผิ
วเงิ
น เพื่
อให้
วั
ตถุ
นั้
นมี
ค่
าเสมอทองคำ
� ลงยาสี
การถม ฯลฯ
ประวั
ติ
ความเป็
นมา
ตั้
งแต่
อดี
ตจนถึ
งปั
จจุ
บั
น ในดิ
นแดนประเทศไทยได้
มี
การใช้
แร่
โลหะประเภท เงิ
น ทองคำ
� นำ
�มาหล่
อหลอม ใช้
เป็
เครื่
องใช้
ในชี
วิ
ตประจำ
�วั
นเกี่
ยวเนื่
องกั
นตั้
งแต่
แรกเกิ
ดจนกระทั่
งใช้
ในบั้
นปลายของชี
วิ
ต “งานช่
างเงิ
น” ในประเทศไทย
จะพบอยู่
ตามชุ
มชนในภู
มิ
ภาคต่
างๆ รู
ปแบบก็
จะแตกต่
างกั
นตามรู
ปแบบสายสกุ
ลช่
างในท้
องถิ่
นนั้
นๆ ในประเทศไทย
นั้
นจะพบว่
าภาคเหนื
อจะนิ
ยมใช้
เครื่
องเงิ
นมากที่
สุ
ด มี
ทั้
งเครื่
องประดั
บ ข้
าวของเครื่
องใช้
ตลอดจนสิ่
งของรองลงมา
ใช้
ในพระพุ
ทธศาสนา รู
ปแบบก็
จะได้
รั
บอิ
ทธิ
พลแบบล้
านนา ชาวเขา ไทลื้
อและชาวจี
น ผสมผสานกั
นไป เครื่
องเงิ
ภาคใต้
ที่
มี
ชื่
อเสี
ยงมากที่
สุ
ดคื
อ จั
งหวั
ดนครศรี
ธรรมราช เป็
นศู
นย์
กลางรวมแหล่
งเครื่
องเงิ
นรู
ปพรรณที่
ดี
ที่
สุ
ดในภาค
ใต้
ของไทย จะรู้
จั
กกั
นในนาม “เครื่
องถมเมื
องนคร”
ส่
วนดิ
นแดนภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อของไทยหรื
อภาคอี
สาน ส่
วนใหญ่
เครื่
องเงิ
นในกลุ่
มภู
มิ
ภาคนี้
จะพบอยู่
ใน
กลุ่
มไทยลาวและกลุ่
มไทยเชื้
อสายเขมรวั
ฒนธรรมอี
สานใต้
ส่
วนใหญ่
จะสร้
างสรรค์
งานฝี
มื
อออกมา ในรู
ปแบบเครื่
อง
ประดั
บประเภท เข็
มขั
ด ต่
างหู
กำ
�ไลข้
อมื
อ และสิ่
งของเครื่
องใช้
ในชี
วิ
ตประจำ
�วั
น เช่
น เชี่
ยนหมาก ขั
นนํ้
า พาน
สำ
�หรั
บภาคกลางของไทย รู
ปแบบสกุ
ลช่
างเครื่
องเงิ
นส่
วนใหญ่
จะได้
รั
บอิ
ทธิ
พลของจี
น มี
ฝี
มื
อในการสร้
างสรรค์
งานแขนงนี้
ได้
ดี
จะพบอยู่
ย่
านบ้
านหม้
อ บ้
านพานถม ส่
วนใหญ่
จะผลิ
ตเครื่
องเงิ
นเพื่
อใช้
ในชี
วิ
ตประจำ
�วั
น เช่
น ขั
นนํ้
พานรอง
คุ
ณค่
าของงานประณี
ตศิ
ลป์
แขนงนี้
แสดงได้
จากลวดลายรู
ปทรงของเครื่
องเงิ
นสกุ
ลช่
างต่
างๆ ที่
บรรดาเหล่
านาย
ช่
างได้
สร้
างสรรค์
และถ่
ายทอดออกมาลงบนชิ้
นงานนั้
นๆ ถึ
งกาลเวลาจะผ่
านไปหลายร้
อยปี
ลวดลายที่
ปรากฏเป็
หลั
กฐานก็
สามารถบอกถึ
งความเป็
นมาได้
อั
นสะท้
อนออกมาในแนวเชิ
งช่
าง ในประเทศไทยถึ
งแม้
ปั
จจุ
บั
นจะใช้
เครื่
อง
เงิ
นเป็
นสิ่
งของเครื่
องใช้
ในชี
วิ
ตประจำ
�วั
นลดน้
อยลงมาก หากแต่
ในชุ
มชนทั้
งประเทศไทย ๔ ภู
มิ
ภาคก็
ยั
งมี
ชุ
มชนช่
าง
เครื่
องเงิ
นและสายสกุ
ลช่
างที่
สื
บทอดมรดกแขนงนี้
อยู่
อาทิ
ชุ
มชนวั
วลาย ชุ
มชนสล่
าเงิ
นสั
นป่
าตอง ในจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
สกุ
ลช่
างลำ
�ปางหลวง สกุ
ลช่
างเมื
องแพร่
สกุ
ลช่
างน่
าน และในกลุ
มชาวเขาในจั
งหวั
ดน่
าน จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
และ จั
งหวั
เชี
ยงราย สกุ
ลช่
างเงิ
นจั
งหวั
ดนครศรี
ธรรมราช สกุ
ลช่
างเงิ
น อำ
�เภอเมื
อง จั
งหวั
ดหนองคาย จั
งหวั
ดนครพนม กลุ่
มช่
าง
เงิ
นวั
ฒนธรรมอี
สานใต้
อำ
�เภอเขวาสิ
นริ
นทร์
จั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
อำ
�เภอสำ
�โรงทาบ จั
งหวั
ดศรี
สะเกษ และสกุ
ลช่
างเงิ
นแขวง
บ้
านหม้
อ กรุ
งเทพมหานคร