Page 19 - dcp3

Basic HTML Version

8
ผ้
าทอกะเหรี่
ยง
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
ปรี
ยาพร ทองผุ
กะเหรี่
ยง เป็
นชนชาติ
เก่
าแก่
ชนชาติ
หนึ่
งที่
มี
วั
ฒนธรรมและภาษาเป็
นของตนเอง กะเหรี
ยงกระจายกั
นอยู่
ใน
บริ
เวณตอนเหนื
อของพม่
าแถบรั
ฐฉานตลอดมาจนถึ
งบริ
เวณชายแดน ไทย - พม่
า ตลอดแนวเขาถนนธงชั
ย ตะนาว
ศรี
จรดปากแม่
นํ้
ากระบุ
รี
จั
งหวั
ดระนอง
ผ้
าทอกะเหรี่
ยง หมายถึ
ง ผ้
าของชุ
มชนชาวไทยกะเหรี่
ยงในเขตวั
ฒนธรรมราชบุ
รี
มี
เอกลั
กษณ์
ที่
กรรมวิ
ธี
การทอ
ผ้
าด้
วยกี่
เอว การทอผู้
ทอต้
องนั่
งกั
บพื้
น เหยี
ยดขาตรงไปข้
างหน้
าทั้
งสองข้
าง เส้
นยื
นมี
สายหนั
งคาดรั
ดโอบไปด้
านหลั
ใช้
นิ้
วหรื
อไม้
ไผ่
ซี่
เล็
กๆ สอดด้
ายพุ่
ง และใช้
ไม้
แผ่
นกระแทกเส้
นด้
ายให้
แน่
น กลุ่
มชนชาวกะเหรี่
ยงที่
อาศั
ยอยู่
ใน
ประเทศไทยมี
กลวิ
ธี
การทอและรู
ปแบบของผ้
าใกล้
เคี
ยงกั
น ผ้
าทอกะเหรี่
ยงมี
ลั
กษณะวิ
ธี
การทอโดยทำ
�ลวดลายบนผ้
าซิ่
(หนึ่
ย) ตั
วซิ่
นทอลายมั
ดหมี่
สี
แดงอมส้
มสลั
บลายทอยกดอก ตี
นซิ่
นทอลายจกแล้
วเย็
บกั
บตั
วซิ่
น ส่
วนเสื้
อ (ไช่
)
ทำ
�ลวดลายด้
วยวิ
ธี
การปั
ก ลวดลายด้
านในและด้
านนอกจะสวยงามสวมใส่
ได้
๒ ด้
าน ชนิ
ดของผ้
าแบ่
งเป็
น ๕ ประเภท
๑) เสื้
อผู้
ชาย
๒) เสื้
อผู้
หญิ
งสี
ขาว (ไชอั่
ว) เป็
นเสื
อยาวคลุ
มเข่
าใช้
สวมใส่
ตั้
งแต่
เด็
กจนถึ
งวั
ยมี
ประจำ
�เดื
อน เสื
อสี
นํ้
าเงิ
(ไช่
โพล่
ง) เป็
นเสื้
อที่
แสดงถึ
งการที่
ผู้
หญิ
งแต่
งงานแล้
ว ตั
วเสื้
อยาวคลุ่
มเข่
า คอวี
ปั
กลวดลายรอบตั
๓) ย่
าม
๔) ผ้
าโพกหั
๕) ผ้
าอื่
นๆ
ลวดลายมี
๔ กลุ่
มลาย ได้
แก่
๑) ลายอ่
องกึ้
ย ๒) ลายอ่
องทา ๓) ลายหนึ่
ยไก๊
ย ๔) ลายเฉะ
ผ้
าทอกะเหรี่
ยงมี
ความสำ
�คั
ญและมี
คุ
ณค่
าต่
อสั
งคม ซึ่
งผ้
าทอกะเหรี่
ยงกั
บการแต่
งกายจะบ่
งบอกสถานภาพ
ทางสั
งคม แสดงให้
เห็
นคุ
ณวุ
ฒิ
ทางจริ
ยธรรมและการควบคุ
มความประพฤติ
ของผู้
สวมใส่
ควบคู
กั
บความสวยงามของลวดลาย ทั้
งนี้
ได้
มี
การส่
งเสริ
มให้
นำ
ผ้
ามาใช้
ประโยชน์
ในด้
านต่
างๆ เช่
น การนำ
�มาใช้
ในการสื
บสานประเพณี
กิ
นข้
าว
ห่
อ การส่
งเสริ
มให้
พั
ฒนาเป็
นอาชี
พเพื่
อสร้
างรายได้
และการส่
งเสริ
มให้
เกิ
ดการ
สื
บทอดความรู้
ให้
อยู่
กั
บชุ
มชน ปั
จจุ
บั
นผ้
าทอกะเหรี่
ยงได้
รั
บผลกระทบจากการ
เปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม คื
อ การขาดแคลนช่
างทอผ้
ากะเหรี่
ยง
รุ่
นใหม่
การหมดความนิ
ยมในการใช้
การขาดความต่
อเนื่
องและขาดความริ
เริ่
สร้
างสรรค์
ในการพั
ฒนาผ้
าทอ และกลายเป็
นแค่
สั
ญลั
กษณ์
ของคนกะเหรี่
ยง