Page 147 - dcp3

Basic HTML Version

136
การทำ
�หั
วโขนขั้
นต่
อไป จำ
�เป็
นต้
องใช้
งานปั้
นเข้
ามาช่
วยแต่
งเพิ่
มเติ
มด้
วย โดยใช้
ดิ
นสอร่
างเป็
นตา ปาก คิ้
ว คาง
ให้
เห็
นชั
ดก่
อนจะปั้
นแล้
วใช้
ผงสมุ
ก (ใบตองแห้
ง เผาเป็
นถ่
าน) ขี้
เลื่
อยไม้
สั
กละเอี
ยด ผงถ่
านหุ
งข้
าวผสมเข้
าด้
วยกั
นนำ
มาปั้
นให้
เป็
นคิ้
ว คาง ตา ปาก จมู
กให้
ดู
เด่
นชั
ด เสร็
จแล้
วนำ
�ไปตากแดดจนแห้
งสนิ
ทจากนั้
นเป็
นการปิ
ดผิ
โดยขั
ดแต่
งหุ่
นกระดาษที่
ปั้
นแล้
วให้
เรี
ยบร้
อยทาด้
วยสี
โป้
วไม้
๒ ครั้
ง ขั
ดให้
เรี
ยบด้
วยกระดาษทรายแล้
วติ
ลวดลาย ซึ่
งมี
กรอบบั
งคั
บลวดลายพอสมควร จำ
�เป็
นต้
องศึ
กษาจากหั
วโขน หั
วละครเก่
าๆ ให้
มากและต้
องอยู่
บน
พื้
นฐานของการเขี
ยนลายไทย ลวดลายที่
ติ
ดนั้
นเดิ
มใช้
รั
กก้
อน มากดลงในพิ
มพ์
หิ
นสบู่
ก็
จะได้
ลวดลายที่
ต้
องการที่
จะใช้
ติ
ดหั
วโขน ส่
วนจอนหู
ใบหู
ของยั
กษ์
และลิ
งทำ
�ด้
วยหนั
งวั
ว หรื
อหนั
งอั
ดแล้
วทาพื้
นลวดลายด้
วยการทาชะแล็
คให้
ทั่
พอแห้
งดี
แล้
วนามาปิ
ดทอง กรรมวิ
ธี
การทำ
�ตามแบบสู
ตรโบราณนี
มี
ความยุ่
งยาก และวั
สดุ
วั
ตถุ
ดิ
บที่
นำ
�มาใช้
จาก
ธรรมชาติ
มี
คุ
ณภาพเสื่
อมถอย จำ
�เป็
นที่
ช่
างจะต้
องหาวั
สดุ
มาแทนที่
ให้
ได้
ใกล้
เคี
ยงมากที่
สุ
ดปั
จจุ
บั
นช่
างแต่
ละคนมี
สู
ตรที่
หาได้
เฉพาะตน แล้
วแต่
สะดวกและพึ
งพอใจ
ขั้
นต่
อมาใส่
เพชรตามรู
กระเปาะ หรื
อเบ้
า เมื่
อใส่
เพชรทั่
วทั้
งหั
วแล้
วนามาเขี
ยนสี
สี
ที่
จะใช้
เขี
ยนหั
วโขนตามสี
ที่
ระบุ
ไว้
ในพงษ์
รามเกี
ยรติ์
ช่
างจาเป็
นอย่
างยิ่
งต้
องแม่
นยาในกฎข้
อบั
งคั
บเรื่
องสี
ของแต่
ละตั
วช่
างโบราณจะบอกชื่
อสี
โดยเที
ยบกั
บธรรมชาติ
เป็
นสี
ของดอกไม้
พื
ช และสั
ตว์
อาทิ
สี
ม่
วงดอกตะแบกสี
กลี
บบั
วโรย สี
แดงลิ้
นจี่
สี
ขาวสั
งข์
สี
ขาวใส สี
ขาวนวล สี
หม้
อใหม่
สี
หงส์
บาท (คื
อเท้
าของหงส์
) การบอกสี
เช่
นนี้
โอกาสที่
สี
จะตรงกั
นทุ
กครั้
ง เป็
นไปได้
ยาก
นอกจากจะทำ
�ตารางเที
ยบสี
และค้
นหาอั
ตราส่
วนเป็
นเปอร์
เซนต์
ออกมา จึ
งจะได้
สี
ที่
ใกล้
เคี
ยงกั
นมากที่
สุ
ดขั้
นตอน
สุ
ดท้
ายคื
อการติ
ดเขี้
ยว ตาและฟั
นขั้
นตอนนี้
ใช้
วิ
ชาช่
างมุ
ก หากเป็
นหั
วโขนยั
กษ์
หรื
อหั
วโขนลิ
งที่
สวมชฎามี
ยอด บางส่
วน
จะต้
องใช้
ไม้
กลึ
ง ช่
างก็
ต้
องใช้
วิ
ชาช่
างกลึ
ง เพราะฉะนั้
นการทำ
�หั
วโขนจึ
งเป็
นศู
นย์
รวมของวิ
ชาช่
างหลากหลาย
ในช่
างสิ
บหมู่
ที
เดี
ยว
ในสมั
ยโบราณมี
ความเชื่
อกั
นว่
า หั
วโขนที่
ใช้
ในการแสดงที่
ผ่
านพิ
ธี
เบิ
กเนตรเรี
ยบร้
อย ก่
อนนำ
�ไปใช้
ในการแสดง
ช่
างทำ
�หั
วโขนจะวั
ดขนาดความห่
างของดวงตาผู้
แสดง และเจาะรู
ให้
สามารถมองเห็
นได้
อย่
างชั
ดเจนห้
ามผู้
แสดงเจาะ
รู
ดวงตาเองเด็
ดขาด เพราะเชื่
อว่
าจะทำ
�ให้
พิ
การตาบอด แต่
ความเชื่
อดั
งกล่
าวเป็
นเพี
ยงกุ
ศโลบายเท่
านั้
น ความเป็
นจริ
คื
อในการตกแต่
งดวงตาของหั
วโขน จะใช้
เปลื
อกหอยมุ
กมาประดั
บตกแต่
งซึ่
งถ้
าผู้
เจาะรู
ไม่
ใช่
ช่
างทำ
�หั
วโขนที่
มี
ความ
ชำ
�นาญ อาจทำ
�ให้
หั
วโขนเกิ
ดความผิ
ดพลาดและเสี
ยหายได้
ง่
าย
ภู
มิ
ปั
ญญาไทยด้
านการเล่
นหุ่
นประเภทต่
างๆ การทำ
�หั
วหุ่
น หั
วโขน พบว่
าภายในกรุ
งเทพมหานครและ
พระนครศรี
อยุ
ธยา ยั
งคงมี
ผู้
สื
บสานภู
มิ
ปั
ญญาศิ
ลปะงานช่
างหุ
นตามแบบประเพณี
โบราณที่
ต้
องใช้
ความรู้
ความชำ
�นาญ
ความสนใจ ประสบการณ์
ความประณี
ตละเอี
ยดลออและความรั
กสื
บทอดมาจนปั
จจุ
บั
น ที่
สำ
�คั
ญการทำ
�หั
วโขนสำ
�หรั
นาฏศิ
ลป์
การเล่
นโขนจั
ดเป็
นมหรสพชั้
นสู
งของไทยซึ่
งเจริ
ญรุ่
งเรื
องมาแต่
โบราณ ผลงานหั
วโขนที่
สวยงามในยุ
คปั
จจุ
บั
กล่
าวกั
นว่
า ต้
องเป็
นผลงานของนายชิ
ต แก้
วดวงใหญ่
และของหม่
อมราชวงศ์
จรู
ญโรจน์
ศุ
ขสวั
สดิ์
แม้
ว่
าท่
านทั้
งสอง
จะล่
วงลั
บไปแล้
วแต่
มี
ทายาทที่
ยั
งคงสื
บสานการทำ
�หั
วโขนต่
อมาจนปั
จจุ
บั
หั
วโขน ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๖