Page 73 - dcp1

Basic HTML Version

64
ตี่
จั
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
ชั
ชชั
ย โกมารทั
ต และพั
นเอก(พิ
เศษ) อำ
�นาจ พุ
กศรี
สุ
ตี่
จั
บเป็
นกี
ฬาพื้
นเมื
องของภาคกลาง นิ
ยมเล่
นกั
นอย่
างแพร่
หลายแทบทุ
กจั
งหวั
ดของภาคกลางในสมั
ยก่
อน เช่
กรุ
งเทพฯ ธนบุ
รี
ฉะเชิ
งเทรา ตราด ประจวบคี
รี
ขั
นธ์
สมุ
ทรสาคร อ่
างทอง พระนครศรี
อยุ
ธยา นครสวรรค์
และสิ
งห์
บุ
รี
เป็
นต้
น บางท้
องที่
เรี
ยก “ตี่
ป๊
าป” ก็
มี
“ตี่
” ก็
มี
กี
ฬาตี่
จั
บเป็
นกี
ฬาที่
ชาวบ้
านสมั
ยเก่
าเล่
นเป็
นการออกกำ
�ลั
งในการปลํ้
าจั
กั
น มั
กจั
ดให้
มี
การเล่
นแข่
งขั
นกั
น เป็
นการสนุ
กสนานรื่
นเริ
งในงานเทศกาลประจำ
�ปี
เช่
น งานตรุ
ษสงกรานต์
งานขึ้
นปี
ใหม่
และงานรื่
นเริ
งอื่
นๆ
จากหลั
กฐานพบว่
ามี
การเล่
นกี
ฬาตี่
จั
บกั
นแล้
วในสมั
ยรั
ชกาลที่
๕ ดั
งปรากฏในบทความของขุ
นจรั
สชวนะพั
นธ์
ที่
เขี
ยนไว้
ในเรื่
องวิ
ธี
สอนเมื่
อ ร.ศ. ๑๒๓ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ได้
สอนถึ
งการเล่
นออกแรงในสมั
ยนั้
นว่
า มี
การเล่
นตี
ร่
วมอยู่
ด้
วย
(ขุ
นจรั
สชวนะพั
นธ์
, ร.ศ. ๑๒๓ : ๑๑๙) และจากบั
นทึ
กของขุ
นวิ
จิ
ตรมาตรา ซึ่
งได้
บั
นทึ
กชี
วิ
ตตอนหนึ่
งในวั
ยเด็
ก ซึ่
งอยู่
ในช่
วงรั
ชสมั
ยที่
๕ กล่
าวถึ
งการเล่
นตี่
จั
บ ซึ่
งเป็
นที่
นิ
ยมเล่
นกั
นมากของเด็
กในสมั
ยนั้
นว่
า “เล่
นตี่
จั
บในถนนแพร่
งนรา
เล่
นกลางถนน เพราะรถเกื
อบไม่
มี
เดิ
นเลย” (ขุ
นวิ
จิ
ตรมาตรา, ๒๔๖๗ : ๘๔) ในสมั
ยรั
ชกาลที่
๖ การเล่
นตี่
จั
บก็
ยั
งเป็
นที่
นิ
ยมเล่
นกั
นในหมู่
ชาวบ้
านโดยทั่
วไปอยู่
โดยเฉพาะเด็
กๆ นิ
ยมเล่
นกั
นมาก ดั
งความตอนหนึ่
งในบทความเรื่
อง การแข่
งขั
ที่
แท้
จริ
ง ของหนั
งสื
อวิ
ทยาจารย์
กล่
าวถึ
งการเล่
นของเด็
กๆ ว่
า ถ้
าปล่
อยเด็
กลงไปในสนาม เด็
กๆ จะรวมพวกกั
นเล่
นแข่
งขั
กี
ฬาชนิ
ดต่
างๆ เช่
น ตี่
จั
บ เป็
นต้
น (ฝ.ค., ๒๔๖๗: ๑๗๒๙) การเล่
นตี่
จั
บที่
นิ
ยมเล่
นกั
นอยู่
๒ แบบ คื
อ แบบออกเสี
ยงและ
แบบเงี
ยบ ซึ่
งเรี
ยกว่
า “ตี่
ใบ้
” หรื
อ “ตี่
กึ
ก”
สำ
�หรั
บวิ
ธี
การเล่
นของตี่
ออกเสี
ยงและตี่
ใบ้
ใช้
วิ
ธี
การเดี
ยวกั
น กี
ฬาตี่
จั
บนั
บว่
าเป็
นกี
ฬาที่
นิ
ยมเล่
นกั
นอย่
างกว้
างขวาง
ทั่
วทุ
กภาคของประเทศ ทั้
งภาคเหนื
อ ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ และภาคใต้
ต่
างก็
มี
การเล่
นตี่
จั
บด้
วยกั
นทั้
งนั้
น เป็
นกี
ฬา
ที่
ชาวบ้
านนิ
ยมเล่
นสื
บเนื่
องมาโดยตลอด จนถึ
งปั
จจุ
บั
นนี้
การเล่
นตี่
จั
บยั
งเป็
นที่
นิ
ยมเล่
นกั
นอยู่
โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งมี
เล่
นกั
อยู่
ในท้
องถิ่
นชนบท แต่
ในเมื
องไม่
ค่
อยปรากฏให้
เห็
นแล้
ตี่
จั
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๔